การใช้ปรุสัพท์พนามในภาษาไทย วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 1 หน้า 268
หน้าที่ 268 / 354

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการใช้คำปรุสัพท์พนามในภาษาไทย ว่าคำนี้ใช้แทนชื่อของนามที่ได้กล่าวไปแล้ว เพื่อให้มีความหมายในประโยคนั้น ๆ เช่น การใช้คำอย่าง 'ท่าน' หรือ 'เรา' ที่ต้องวางไว้ต้นประโยค รวมถึงการอธิบายวิธีใช้ในประโยดต่าง ๆ และคำอธิบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ในประเภทของคำต่าง ๆ เช่น อุทานและอธิษฐาน ซึ่งเป็นวิธีการใช้ที่สำคัญในการสื่อสารในภาษาไทย.

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำปรุสัพท์พนาม
-ตัวอย่างการประยุกต์ใช้
-ความสำคัญของคำในภาษาไทย
-การเปรียบเทียบการใช้ในภาษาไทยและภาษาอื่น
-หลักการวางคำในประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีใช้ ต ปรุสัพท์พนาม ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า คำนี้สำหรับใช้แทน นามนามนาม ที่เคยออกชื่อมาแล้ว เพื่อจะให้มีค่าข้าง ในประโยคคำพูดนั้นๆ ต ที่พึ่งที่เป็นปรุสัพท์พนาม ท่านให้บอกว่า ท่าน, เจอ, เรา, มัน, คุณ และวางไว้ต้นประโยค เช่น อาจารย์ สิขสุ อุณโหทก์ ปาจาเปดิ โส ตี ปิวี เปลว่า อาจารย์ให้ฉันขึ้นน้ำร้อน ท่านจึงฉันน้ำร้อนนั้น ส่วน ต คำที่ท่านเขียนไว้กับนามศัพท์ หรือ อุทาน คำศัพท์ และ อธิษฐาน เป็นวิสาสศัพท์พนาม เปว่า “นี้” อุทานคำว่า อุภาธาย โข โอ ควา ธรรมิ เทเตติ, โน (เทสดี) อนุภาธาย เปลว่า พระผู้มีพระภาคนั้น ย่อมแสดงธรรมเพื่อความรู้แจ้ง, ไม่แสดงเพื่อความไม่มีอึด ส่วนในภาษาไทยไม่ได้เขียนเป็นแบบเดียว มียักต์อยู่ตามสถานภาพของบุคคล พึงเห็นวิธีใช้คำปรุสัพท์พนาม ที่เป็นประญุตร ในภาษาไทย ดังต่อไปนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More