มัชฌิมปรัชญ์ในภาษาไทย วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 1 หน้า 270
หน้าที่ 270 / 354

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้คำมัชฌิมปรัชญ์ในภาษาไทย และการตีความชื่อในบริบทของการสนทนา คำศัพท์ที่ใช้แทนตัวตน เช่น 'ท่าน' ซึ่งเป็นตัวอย่างของการใช้คำในการพูด การจัดทำคำเพื่อใช้แทนชื่อจริง โดยเฉพาะในวรรณกรรมทางพุทธศาสนา ต่อไปจะมีการอธิบายการใช้งานและความเหมาะสมของคำในบริบทต่างๆ เพื่อให้ผู้ศึกษาเข้าใจดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การใช้มัชฌิมปรัชญ์
-การสนทนาในศาสนาพุทธ
-การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย
-ความเหมาะสมของคำในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิทยากรในเวาระนี้ ปี ๒๕๖๓ ตุมห คำพูด นี้ จัดเป็นมัชฌิมปรัชญ์ หรือ มัชฌิมพุทธ สำหรับใช้แทน ที่ ผู้พูด คือผู้ที่กำลังพูดหรือถามกันซึ่ง หน้ า ในระหว่างที่สนทนากันอยู จะเป็นคนหรือสัตว์ไม่เป็นประมาณ เพราะฤถุกฤ ฤาษาไม่เ็ฉยออกชื่อผู้พูด หรือผู้ก่ำพูดอด้วยนั่นซึงกล่าวราวๆ จึงต้องบัญญัติคำขึ้นมาเพื่อใช้แทนตัวตนที่เป็นผู้ที่นั่น เพื่อกันความสับสนที่จะต้องออกมาจนถึงหน้า ตัวอย่างเช่น พระ ก. ถามพระ ข. ว่า "ท่านไปไหนมา ?" ดังนี้ คำว่า "ท่าน" เป็นคำกันชื่อของพระ ข. ซึ่งเป็นผู้พูดถามของพระ ก. เพราะฉะนั้น พระ ข. จึงต้องเป็นมัชฌิมบิรณ์ ในภาษาบาลีอิงอุฎติเหน่านั้นสำหรับใช้แทนชื่อจริงของนาม ดังกล่าวแล้ว แต่ถ้าจะแปลออกเป็นภาษาไทยก็ได้หลายคำ เช่น "เขา ท่าน สุ เอง มี" เป็นต้น ตามคำดับสถานภาพของนามนามนั้น เพื่อให้เหมาะสมกับความสูงต่ำหรือเสมอกันกับผู้พูด และถูกต้องตามภาษามนยมพึงวิธีใชัมัชฌิมบิรณ์ในภาษาไทย จึงจะนำมาเป็นตัวอย่างเพื่อเป็นทางให้ผู้ศึกษาเทียบเคียงดู แล้วแปลภาษาบาลีออกเป็นภาษาไทยให้ถูกต้องตามนิยม อย่าให้เป็นการคละเคลิ้นมิฉะนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More