ข้อความต้นฉบับในหน้า
คำตอบที่ได้จาก OCR คือ:
แนวคำอ่านสำหรับน้ำปากน้ำ ๙๙ ๒๓๙๙-๒๓๙๙ ๒๙
ประเภทของคำศัพท์ในภาษาบาลี
ศัพท์ในภาษามคพร แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. สัญญาดิศัพท์ ได้แก คำพูดตั้งแต่เดิมคุ้นเคยเต็มไปได้ เช่น ก - น้ำ, ข - ฟ้า, ก - แผ่นดิน เป็นต้น
๒. สัญญิตดิศัพท์ ได้แก คำพูดมุ่งให้รังแต่งมาจากฐานและปัจจัยต่าง ๆ ลำ เรียบมาโดยชะระวิธีแห่งนามศัพท์ก็อย่างอื่นบ้าง
ตัวอย่างภาษาบาลี เช่น พุทโธ มาจาก พุท ธา ในความรู้สู่ ลง ฯ ปัจจัยในธารกิตต์ แปลว่า พระพุทธเจ้า, ศรีสุทธิแล้ว เป็นต้น
ตัวอย่างภาษาไทย เช่น โรงเรียน มาจากคำว่า โรง-เรียน เป็นต้น
นามศัพท์
คำว่า “นามศัพท์” นี้ คือกิจกรรมเอกจำ ๒ คำ คือ นาม ๑ คำศัพท์ ๑
มารวมกัน โดยมีความหมายว่า เสียงหรืออักษรและสัญลักษณ์ที่บ่งชี้ชื่อ
แบ่งออกเป็น ๓ คือ นามนาม ๑ คุณนาม ๑ สัญนาม ๑
นามนาม
นามที่เป็นชื่อของคน สัตว์ ที่ สิ่งของ และสภาพ เรียกว่า นามนาม
นามนาม แปลว่า “ชื่อของชื่อ” หมายความว่า การตั้งชื่อให้กับ คน สัตว์
ที่ สิ่งของ และสภาพ
คำว่า “นามนาม” นั้นมาจากศัพท์ ๒ คำ คือ นาม+นาม
นามตัวแรก หมายถึง ชื่อของ คน สัตว์ ที่ สิ่งของ และสภาพ
นามตัวที่สอง หมายถึง ชื่อที่ถูกสมมติให้เป็น
ประเภทของนามนาม
นามนาม แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. สาธารณนาม คืิอชื่อทั่วไปในกัน คน สัตว์ ที่ สิ่งของ และสภาพ หรือ
ชื่อที่ไม่เจาะจง เช่น มนุษโส- มนุษย์, ติรูจาโน-สัตว์ริจจานา, นคร-เมือง เป็นต้น