ความรู้เกี่ยวกับสัพพนาม วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 1 หน้า 264
หน้าที่ 264 / 354

สรุปเนื้อหา

สัพพนาม เป็นคำที่ใช้แทนชื่อคนและสิ่งของในภาษาไทย โดยช่วยลดการใช้คำซ้ำซากในประโยค เช่น การใช้ 'แก' และ 'คุณ' แทน 'นายดำ' และ 'นายยาว' นอกจากนี้ยังมีการอธิบายความหมายและการใช้ในบริบทต่างๆ โดยระบุถึงการปรับปรุงการใช้คำเพื่อเพิ่มความชัดเจนในบทสนทนา

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสัพพนาม
-การใช้งานในประโยค
-การลดการใช้คำซ้ำ
-กรณีศึกษาตัวอย่าง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สัพพนาม ผู้ที่เขียนความรู้ในอนาคตมันบ่งชี้ว่าจะ คำนิยามเป็นส่วนหนึ่ง ของนามศัพท์ ซึ่งมีลักษณะให้เป็นนามทั้งสอง (สาธารณะและสาธารณะ) หรือชื่อความ ต่าง ๆ ที่ออกชื่อ และเข้าใจถากอยู่แล้ว รู้เป็นคำทบทนชื่อ เพื่อให้ทานถึงนามนาม ที่เคยกล่าวความแล้ว หากไม่มีคำประเภทนี้ไว้ เนื่องความหมายคำดีจะช้าฤกษ์ซาก ความนานเมื่อย ตั้งจะเห็นได้ในประโยคอย่างนี้ว่า “นายดำ ไปหานายยาว นายดำถามนายยาวว่า ทำไม นายยาวไม่ไปเยี่ยม บ้านนายดำบ้าง เดี๋ยวนี้บ้านนายดำสนุกมาก” ดังนี้ ขอให้ผู้พิสูจน์ระกาดการใช้ถ้อยคำซ้ำซาก เช่นนั้น จะแบ่งผู้ฟัง ผู้อ่าน หรือไม่ ถ้าเป็นจริงอย่างว่าแล้ว ควรจะเปลี่ยนถ้อยคำเสียใหม่ว่า “นายดำไปหานายยาว แกถามยาวว่า ทำไม คุณไม่ไปเที่ยวที่บ้านผมบ้าง เดี๋ยวนี้ที่บ้านคุณสนุกมาก” ดังนี้ กว่ากว่า “แกว่า คุณ ผม นั้น” ทั้ง ๔ คำนี้ปรากฏขึ้นในประโยคตัวอย่าง ข้างหลัง เพื่อจะตัดคำอ่านที่ซ้ำกันออกเสีย และควรไว้ว่าจำเป็น คำบรรดาผู้ทางภาษาบาลีบัญญัติเรียกว่า “สัพพนาม” but ทางฝ่ายภาษาไทย เรียกว่าคำแห่งชื่อดังกล่าวแล้ว ความหมายของคำว่า “สัพพนาม” คำว่า “สัพพนาม” นี้ ได้ม็นักวิชาการหลายแขนให้ความหมายไว้แต่ต่าง กันออกไป ดังนี้ คือ สัพพนาม (ป.) ชื่อถิ่นปง, สัพพนาม, สรรพนาม ชื่อคำาม ประเภทนี้สำหรับใช้แทนชื่อคนและชื่อสิ่งของที่ออกชื่อ มาแล้ว (พจนานุกรม ฉบับ-ไทย โดย สันติ ป. หลวงสมบูรณ์ สำนัก- เรียน วัดปทุมทอง จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ หน้า ๙๙)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More