ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิทยานิพนธ์ในอุบากรณ์ มอญภิรมย์
๒. อาตารามนาม คือชื่อที่ไม่ทั่วไป เช่น ติ้มสีทอง, สิ่งของ และภาพ หรือชื่อที่เฉพาะเจาะจง เช่น พิมพ์ลภิรา-พระเจ้าพิมลวาร, เอรวัฒน์ใน-ชื่อนี้ เอรวรรณ เป็นต้น
คุณนาม
คุณนาม หมายถึง นามที่แสดงลักษณะอาการของนามนาม (คน สัตว์ ที่สิ่งของ และภาพที่ยังชื่อแล้ว) เพื่อเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่า นามนามนั้น ดีหรือชั่ว, สูงหรือเตี้ย, ดำหรือขาว เป็นต้น
ประเภทของคุณนาม
คุณนาม แบ่งออกเป็น ๓ ชั้น คือ ปกติ, วิถี ๑, อัตวิธี ๑
๑. ขั้นปกติ คือ คุณนามที่แสดงลักษณะอาการของนามนามธรรมมาไม่มีสิคะอะไร ข้อสังเกต
ในภาษาไทย ไม่มีคำว่า กว่า ยิ่ง เกิน ต่ำ เช่น นวความยง, นายรวยเอย เป็นต้น
ในภาษาบาลี ไม่มีปัจจัยต่อท้ายและไม่มีอุปศัพท์และนิบาตนำหน้า เช่น ปณุโต-เป็นบัณฑิต, ปาโป-เป็นบาน, มหุตโต-ใหญ่ เป็นต้น
๒. ขั้นวิถี คือ คุณนามที่แสดงลักษณะอาการของนามนามได้ดีกว่าชั้นปกติอีกน้อย เช่น นายแดงราวก่อนนายดำ
ข้อสังเกต
ในภาษาไทย มีคำว่า กว่า ยิ่ง เกิน สัง
ในภาษาบาลี มีคำข คือ ตร อัย ต่อท้าย มีอุปศัพท์ คือ อดี นำหน้า เช่น ปณุโต-เป็นบัณฑิตกว่า, ปาโท-เป็นบานกว่า, มหุตโต-เป็นผู้ใหญ่กว่า, อติปัญญาโต-เป็นบัณฑิตยิ่ง เป็นต้น
๓. ชั้นอัตวิสา คือ คุณนามที่แสดงลักษณะอาการของนามนามได้ดีมากกว่าชั้นปกติอีกน้อย เช่น นายแดงราวก่อนนายดำ
ข้อสังเกต
ในภาษาไทย มีคำว่า กว่า ยิ่ง เกิน สัง
ในภาษาบาลี มีคำข คือ ตร อัย ต่อท้าย มีอุปศัพท์ คือ อดี นำหน้า เช่น ปณุโต-เป็นบัณฑิตกว่า, ปาโท-เป็นบานกว่า, มหุตโต-เป็นผู้ใหญ่กว่า, อติปัญญาโต-เป็นบัณฑิตยิ่ง เป็นต้น