การใช้นามนามกับคุณนาม วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 1 หน้า 151
หน้าที่ 151 / 354

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการใช้นามนามและคุณนามในภาษาบาลีและภาษาไทย โดยมีตัวอย่างการประกอบคำที่ช่วยให้เข้าใจถึงความหมายและการแปลจากภาษาบาลีสู่ภาษาไทย นอกจากนี้ยังอธิบายถึงวิธีการใช้คุณนามเพื่อขยายความของนามนามในบริบทต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงโครงสร้างและการใช้งานที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การใช้คุณนาม
-การใช้ นามนาม
-การแปลภาษาบาลี
-โครงสร้างของประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การใช้นามนามกับคุณนาม คุณนามเมื่อทำหน้าที่ขยายานามมาโดย ต้องมีส OWN  จนจะ วิภัติ ของนามนามนั้น และนิยมเรียวไว้นามนามนั้น เช่น | ภาษาบาลี | ภาษไทย | |---|---| | คุณนาม | นามนาม | | อุจโจ | รุจโย ๒ | อ. ต้นไม้ ๒ สูง | | คุณนาม | นามนาม | | อุเจ | รุญ ๒ สุภโก ๓ | อ. นา บนต้นไม้ ๒ สูง | และในการแปลจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยระหว่างนามนามกับคุณนาม นั้น คำคุณนามซึ่งทำหน้าที่ขยายานามนั้น ถ้าเป็นคุณนามของคุณ แปลว่า "ผู้..." ถ้าเป็นคุณนามของสิ่งของ แปลว่า "อัน..." ถ้าเป็นคุณนามของสัตว์ แปลพืนคำว่า "ตัว..." เป็นต้น หรือไม่ก็คุณก็ได้ เช่น คุณนามของคุณ "ทูลโส อาจิโย แปลว่า อ. อาจารย์ ผู้ลาด" "โสภา นารี แปลว่า อ.นาง ผู้งาม" คุณนามของสิ่งของ "อุทกตุ กลิ แปลว่า อ.ตะกูล อันมั่งคั่ง" "วิลาสา เบญจ แปลว่า อ.นา อันท้วงขวาง" คุณนามของสัตว์ "สุพผู้โต ทุติ แปลว่า อ.ช้าง ตัวมือวะทั้งปวง ขาว (ตัวขาวปลอด,เงือก)" "อุรโต สุโข เปสวก แปลว่า อ.สัตว์ ตัวไปด้วยอวน" เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More