หลักการและความแตกต่างของนาม วิสันสัณฑาม และคุณนาม วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 1 หน้า 291
หน้าที่ 291 / 354

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้ว่าด้วยการศึกษาถึงการใช้และความหมายของนาม, วิสันสัณฑาม, และคุณนาม ในภาษาไทย โดยเน้นการอธิบายว่าคำเหล่านี้มีลักษณะและบทบาทในการสื่อสารอย่างไร เช่น วิสันสัณฑามใช้เพื่อบ่งบอกลักษณะเฉพาะหรือความใกล้ไกลของนาม ขณะที่คุณนามทำหน้าที่บรรยายคุณลักษณะของนามนั้น ๆ เพื่อให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเข้าใจถึงคุณสมบัติที่แท้จริงของนามนั้น. ตัวอย่างเช่น คำว่า “บูรณ์นิด” แสดงให้เห็นถึงการใช้วิสันสัณฑามและคุณนามในการกำหนดและบรรยายความหมายของนามให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งในหลักการใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐาน.

หัวข้อประเด็น

-หลักการใช้งานนาม
-ความหมายของวิสันสัณฑาม
-บทบาทของคุณนาม
-การเปรียบเทียบระหว่างวิสันสัณฑามและคุณนาม
-ตัวอย่างการใช้งานในประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คาถามีที่แน่นอนว่าเป็นนาม ปรามวิธีดี มืออายอดินบาด ปรามวัดคำว่า “อันว่า” แสดงเป็นสัญลักษณ์ของนาม หมายเลข 6 นั้น ก็เป็นนามนาม แต่เป็นคำของอายยอดินบาดเลย เพราะเป็นคุณหรือวีสะเนะ ของคำ หมายเลข 7 ไม่ได้ปล่อยชื่ออายยอดินบาดเลย เพราะเป็นคุณหรือวีสะเนะ ของคำ หมายเลข 8 อยู่แล้ว ในกกุสัมพนธ์ คำานามนั้นไม่ได้ประกอบปรามวิธีดี และ มีบทวิสะเนะกว่ากับตัวด้วย ท่านเรียกชื่อสัมพันธุ์ตามหลักการสัมพันธุ์ วิสันสัณฑาม กับ คุณนาม ต่างกัน วิสันสัณฑาม สำหรับให้เป็นวิเศษระของนามนาม เพื่อให้ปลอดจากปกติ และทำให้นามนามนั้นเต็มชนิดขึ้นอีกด้วย ทั้งแสดงไว้ว่ากำหนดแน่นอนหรือไม่ อยู่ ใกล้หรืออยู่ไกล และจะเป็นบุรษอันเหมือนกันไม่ให้มีเว้นแวว วิสันสัณฑาม ด้วยกันก็จริง แต่หาไม่ได้ทรนานนามโดยตรง ก็เดียวไม่ลักษณะทักษิดคล้าย ๆ กับคุณนามดังกล่าวข้างต้น ส่วน คุณนาม นั้น เป็นคำสำหรับใชบอกลักษณะหรือรัศมีของนามนาม ให้บรรจุฎเจนขึ้น เพื่อให้รู้ว่า นามนามนั้นเป็นอย่างไร ตัวอย่างเช่น “บูรณ์นิด” คำว่า “บูรณ์” เป็นนามนาม เป็นบทประทานในคำพูดนี้ คำว่า “เอ้ย” เป็น วิสันสัณฑาม เพราะเป็นคำที่ใช้ประกอบกับนามนาม คือ บูรณ์ ให้เห็นว่าระ ใกล้จากคู่กล่าวไรหนอ และกำหนดแน่นอนด้วยว่า เป็นบูรณ์นั้นไปใช่หรือไม่ หรือคนนี้ ส่วนคำว่า “ดี” เป็นคุณนาม โดยตรง เพราะแสดงลักษณะบูรณ์ ที่เป็น นามนาม ให้รู้ว่าเป็นบูรณ์ดี ได้ไม่เป็นคนวอ หรือเป็นอย่างอื่น ตัวอย่างนี้ลงให้ เห็นว่า วิสันสัณฑามกับ คุณนาม นั้นต่างกันแล้วอย่างไร แต่ลักษณะบางอย่างที่ เหมือนกันก็มี เช่น ต่างก็ต้องใช้เป็นบทประกอบ บอกลักษณะอาการของนามนาม ด้วยกัน และต่างก็ต้องมี ลิงค์ จนจะ วิสันสัณฑาเป็นอย่างเดียวกันกับ นามนาม ตัวนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More