คำบูชาพระธัมมะที่ถูกต้อง คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 8 หน้า 180
หน้าที่ 180 / 194

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้มีการพิจารณาเกี่ยวกับคำบูชาที่ถูกต้องสำหรับพระธัมมะ พร้อมการอภิปรายตามหลักฐานในบทสนทนาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระวังศสะ โดยเฉพาะการระบุสถานะของพระและความหมายของคำพูด เช่น การยอมรับการสอนของพระศาสดา และการเข้าใจในธรรมชาติของการบูชา ในขณะที่มีการพูดถึงบทบาทของพราหมณ์และพระในบริบทที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีการสนทนาเกี่ยวกับความรู้และการปฏิบัติของบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่ผู้บวชตามหลักคำสอนของพระธรรม.

หัวข้อประเด็น

-คำบูชาพระธัมมะ
-พระวังศ
-บทสนทนาของพระศาสดา
-ความรู้ในธรรม
-การบูชาที่ถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คำบูชาพระธัมมะที่ถูกต้อง ยกศัพท์เปล ภาค ๔ - หน้าที่ 179 เรื่องพระวังศ.สถานะ 30. ๑๘๕/๒ ตั้งแต่ ถอ นั สตฺถ กึ วงศส น เป็นดังไป. ถอ ครั้งนั้น สตฺถ อ. พระสตฺถา วุฒา ครัลงแล้วว่า วงศส ดูก่อนวังศะ โตว อ. ท่าน น ชานา อิ่มไม่รู้ ก็ หรือ อิติ ดังนี้ น วงศสึ คะพราหมณ์ชื่อว่่างศะนั่น (จาน) ครัลงเมื่อคำว่า อาม พระเจ้าป่า อุท อ ขํพระองค์ น ชานามิ ย่อมไม้ อนิ ดังนี้ (วุฒิสน) อันพราหมณ์ชื่อว่่างศะ วุฒกราบูแล้ว ฯ แล้วที อาหาร ครัลงแล้ว อ. เรา ชานามิ ย่อมรู้ อิติ ดังนี้ (วุฒิโล) อ. พราหมณ์ชื่อว่่างศะ (ปัจจิ) ทูลถามแล้วว่า โตว อ. พระองค์ ชานา สิ ยอมทรนเอ่ยอะไร อิติ ดังนี้ (สตฺถา) อ.พระ ศาสดา(อา) ตัสสวา ว่าแล้วว่า (มยา) อันตรา น สกุต ไม่อาจ ทาทู เพื่ออันให้ อุปพุทธิสุก ปุคคลาสุ แก่บุคคลผู้ไม่บวชแล้ว อิติ ดังนี้ ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More