ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายอากาศสัมพันธ์ เล่ม ๓ - หน้า ๑๓
เกริยากิตที่ใช้คุมพากย์ตอนหนึ่ง ๆ ก็นับเป็นพากย์หนึ่ง ๆ อุ. คำ
เม ะกล้; ออกไป เม ปาป. [ สมุนทิวิ. /๑๕๐ ] กุฎดอ้นเราทำ
แล้ว บาปอันรามได้แล้ว. แม้ตอนกริยาพิเศษที่ใช้คุมพากย์
เช่น สุกก ก็เช่นเดียวกัน.
[ ๑ ] พาย แบ่งเป็น ๕ ตามวรรณ ๕ คือพากย์ติดวาก
พากย์กัมวาวกด พากย์วาวกด พากย์เหตุติวาก พากย์เหตุ-
ไหวเป็นที่ตั้ง แล้วหารแต่งและขายายประธานตามนัยที่กล่าวแล้ว เช่น
นี่ก็ทราบไว้ว่า ตอนใดเป็นพากย์อย่างไร และบทที่เข้าบบทแต่ง
และขายยายประธาน ในพากย์าดใด ก็เน้นเข้าในพากย์ดั้งนั้นทั้งหมด.
ส่วนพากย์ก้อนทรและลักษณะ จัดเป็นพากย์ก้ชนึ่ง ๆ ต่างหาก
จะยกพากย์ยาว ๆ ในสมบูรณ์ติธก จัดเป็นตัวอย่าง ๓ พากย์
คือ :-
อธีสกล เยติ อิง ธุมเดนส สุกก สาเกต นิสสาย
อญชวน วิรนโฑ ภิกขุ ปุจฉปัญหา อารพ เกลิ
[กิจฎิบูปปุจฉฯ. ๓/๕๐] พระศาสดา เมื่อทรงอาสมเมืองสาเกต
ประทับอยู่ในอญชวน ทรงปรารถนาปัญหาที่พวกภิกษุตูลาม จึงรัส
พระธรรมเทวนีว่า อธีสกล เย เป็นอาที.