อธิบายอารมณ์เสมอ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 1 หน้า 60
หน้าที่ 60 / 195

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายเกี่ยวกับการทำความเข้าใจอารมณ์ในภาษาไทย โดยให้ความสำคัญกับคำบาลี และการใช้ภาษาล้านนา คำอธิบายจะเจาะลึกถึงความหมายของอารมณ์ที่สื่อออกมา ผ่านการใช้คำต่างๆ ซึ่งเป็นที่นิยมในล้านนาไทย โดยเฉพาะการแปลคำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์และความรู้สึก ผลงานนี้จะเน้นถึงความสำคัญของการเลือกสรรคำให้เหมาะสม และการเข้าใจถึงความจริงในสังขารซึ่งเป็นที่รัก และการเผชิญหน้ากับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ที่ส่งผลต่ออารมณ์ในทางบวกและลบ.

หัวข้อประเด็น

-การแสดงอารมณ์
-การใช้คำบาลีในภาษาไทย
-ความสำคัญของล้านนาในภาษา
-การวิเคราะห์คำศัพท์
-การเข้าใจสังขารและอารมณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายอารมณ์เสมอ - หน้า 57 [ตติยวิเสสน] รฐสีติ จตุขวาวารทิวเสน อปนีเสถ รูปมุมเญษ อลัถตา [ปองอภิญญู. ๕/๕๐] ไม่สำรวมในรูปร่าง ที่นาผู้เสื้อผ้าอ้างนำเข้าไปโดยอำนาจทวารเป็นต้น [ คือทาถิ วาวรเป็นต้น] [เหตุ] ปิยน ฤวิโภคเสน อุตสุน อุปปายญญู อุปสงามวนเสน ทสสนุ ทุกข์ [ ตโจปทพิจิต. ๖/๔๘] เพราะว่า การไม่เห็นสัตว์หรือสังขารเป็นที่รัก เพราะอำนาจการพลัดพราก และการเห็นสัตว์หรือสังขารไม่เป็นที่รัก เพราะอำนาจการประจบกัน เป็นทุกข์ ค. ในล้านนาไทย นิยมใช้คำว่าอานันตา [ หรือคำบรรพพา ] ด้วย กันมาก ทั้งที่เป็นกรณ ตติยวิเสสนและเหตุ ที่ใช้ในที่เป็นติวา- วิเสสน เช่นพวกนะ-สสน ติวาวเสน ที่ใช้ในที่เป็นเหตุ เช่นคำ อ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อาจเป็นเหตุอานวมวความปรารถนาเป็นต้นว่า ด้วย อานาวาแห่งพระรัตณตรัย[ รัตนตตุยนากวน ]เพราะฉะนั้น จะถือ เอาล้านนาไทยที่คนพูดมาเป็นที่ตั้งในการบอกสัมพันธไมได้ ต้องคือ เอาธรรมที่ในภาษาบาลีเป็นที่ตั้ง อันนี้ บทที่แปลในภาษาไทยว่า โดย... หรือ... มิใช่เป็น ตติยวิเสสนเอไป คือเป็นกริยาวิเสสนกิ้ม แต่สอด โดย เพื่อ เชื่อคำ หรือคำว่าตาม เป็นคำแปลของนิทาน เช่น สกุฏอู๋ สุขาวดี. [ ตุกุตปาณูอปาสก. ๓/๕๔ ]. อเดถ ญาดา ยงกุฏ, [ อญญตรอปาสก. ๖/๑๓๐ ] ทั้งนี้ ต้องเพ่งคำบาลีเป็นสำคัญ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More