การวิเคราะห์ภาวะสนะและธรรมนิยมในบทที่เกี่ยวข้อง อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 1 หน้า 41
หน้าที่ 41 / 195

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการวิเคราะห์ภาวะสนะในบทต่าง ๆ โดยเน้นว่าภาวะสนะไม่ได้เป็นเพียงแค่อาการปกติแต่สามารถตีความได้ว่ามีความหมายหลากหลาย เชื่อมโยงกับการปฏิบัติธรรมที่พึงปฏิบัติอย่างถูกต้อง เช่น พระพรหมจริย จิตทู และอุฏฐานมิมนี จึงควรเข้าใจพฤติกรรมและการใช้ศัพท์ในบริบทที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงการตีความผิดที่อาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดในคำสอนเกี่ยวกับธรรม.

หัวข้อประเด็น

- การวิเคราะห์ภาวะสนะ
- ธรรมปฏิบัติ
- พระพรหมจริย
- การใช้คำศัพท์ในบริบทของธรรม
- ความเข้าใจในการเลือกใช้ภาษาธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การวิเคราะห์ บางบท มีรูปเป็นภาวะสนะ แต่ถ้าใช้หมายถึงข้อปฏิบัติ ธรรม หรือสถานะบางหนึ่ง มิใช่เป็นภาวะอากรตามปกติ เช่นนี้ แม้ จะมีคำดูต่างกับภาวะข้างหลัง ก็ไม่ใช่ภาวะสนะ เช่น พระพรหมจริย จริต [ นนทคุณเตร. /๑๑๑ ] ถ้าพูดความว่า พระพรหมจริย เป็นต้น ปฏิบัติหรือธรรมที่พึงปฏิบัติอย่างหนึ่ง ก็เป็นอุฏฐานมิมนีใน จรติ. แท้จริง ข้อว่า มีรูปเป็นภาวะสนะ แต่อโยมหมายถึงธรรมปฏิบัติ อย่างหนึ่งนั้น อาจเป็นได้. ทีมใช้คำว่า ธรรม เข้าสมาด้วยก็มี เช่น ภิกษาจริย มุทธ สุจริต จิตทู [ สุทธิ.โทน. ๖/๓ ] "พึงประชากดี ซึ่งธรรมคือความเที่ยงไปเพื่อภาคา ให้สุจริต" อื่นว่า พระพรหมจริย นั้น ถ้าพูดความว่าเป็นภาวะอากร ก็เป็นภาวะอากรใน จรติ. เพราะเหตุนี้ ผู้ศึกษาพึงเข้าใจโดยว่า บทภรมสนใน อรรถะซ้ำกับภาวะข้างหลังนั้น ต้องชำราทั้งเป็นภาวะสนะ ที่ใช้ เป็นภาวะอากรปกติ นอกจากนี้ มีใช้ภาวะสนะ. และบางบท เมื่อเพิ่งเข้าแล้ว อาจใช้เป็นภาวะสนะก็ได้ หรืออย่างอื่นก็ได้ เช่นนี้ ควรทำความรู้เข้าใจ เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะ และจำไม่ได้นวด เอาผิดผู้อื่น. การวิเคราะห์ที่ใช้ในอรรถะซ้ำกับภาวะข้างหลังนั้น มีใช้บอกมรม ชาตโดยมาก แต่ที่ใช้กับสัมมาทรรุก็มีบ้าง เช่น ปฏาชุนาคาริย กฎวา ที่แสดงแล้ว ส่วนภาวะสนสนในกนี ใช้กับบรมราชูบ้าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More