ความสัมพันธ์และคุณนามในภาษาไทย อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 1 หน้า 124
หน้าที่ 124 / 195

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้อธิบายความสัมพันธ์ของคามวาสีและนครวาสีว่ามีความหมายเฉพาะสำหรับเสฎฐีเท่านั้น พร้อมการวิเคราะห์การใช้คุณนามที่แตกต่างกันในบริบทที่ต่างกัน โดยยังได้มีการเปรียบเทียบตัวอย่างเพื่อเข้าใจหลักการในการใช้คำได้ดียิ่งขึ้น รายละเอียดของประโยคในแต่ละกรณีจะช่วยยืนยันฐานะและบทบาทต่างๆ ของคำนั้นๆ โดยไม่เกิดความสับสน มีการอธิบายประกอบด้วยการยกตัวอย่างและการอธิบายความหมายเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมและความสำคัญของคุณนาม ในการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของประโยค.

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ในภาษาไทย
-การใช้คุณนาม
-เสฎฐีในคำศัพท์
-ความหมายของคำนามในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายความสัมพันธ์ เล่ม ๑ หน้าที่ 121 คามวาสี. นครวาสี เป็นคุณเทพของเสฎฐี เท่านั้น มิใช่ของชนะ หรือ ปุณโค โล ทั่วไป จึงบอกสัมพันธ์ เป็นเสฎฐีของเสฎฐี ทั้ง ๒ บท. บทคุณามในที่นี้ ใช้เป็นคุณเทพหรือเสฎฐี of นามนาม ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นแสดง. [ ๔ ] บทคุณนามโดยมาก ที่เรียวไว้โดยไม่มีนามนาม กำกับ บางแห่งใช้เป็นเสฎฐีตามปกติ บางแห่งใช้ฐานเป็น นามนาม, ข้อนี้จึงต้องพิจารณาตามหลักที่กล่าวมาแล้ว, ส่วน คุณนามที่ใช้เป็นนามนามจนลงตัวแล้ว ก็ไม่ยากต่อการพิจารณา เพราะเห็นเข้ารู้ได้ดีว่าใช้เป็นนามนาม เช่น ปุกูลโล. [ ๕ ] ต่อไปนี้จะหาตัวอย่างคุณนาม นามบทเดียวกัน แต่ใช้ เป็นคุณบา หรือเสฎฐีตามปกติในที่แห่งหนึ่ง ใช้ฐานเป็น นามนามในอีกแห่งหนึ่ง มาเทียบกัน :- ๑. ปฏิรูปาย อุปปามุตตน สมธมฺโม กตฺตุโพ [ ที่กล่าวมาแล้ว ] ๒. อุปปามุตต น มียุวติ [ สามวุติ ๓/๖๖ ] . ๓. ที่ อุปปามุตต เป็นเสฎฐีของ ปุณฺฑิตตน แต่ ไม่เรียง ปุณฺฑิตตน ไว้ เพราะกล่าวมาแล้วงั้นนับกับ คิทฺฐิต. [บอกสัมพันธ์ ว่า อุปปามุตตน วิสสวนของ ปุณฑิตตน โดย เติมเข้ามา]. ๔. ที่ ๒ อุปปามุตต ใช้ในฐานเป็นนามนาม เพราะแสดง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More