วาทสัมพันธ์ เล่ม ๖ หน้า ๖๔ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 1 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 195

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้า ๖๔ ของเล่ม ๖ อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสัมปทานและกัมม โดยเฉพาะในบริบทของการให้และการรับ ผ่านการใช้ภาษาที่แสดงถึงการเคารพต่อพระพุทธเจ้า รวมถึงการใช้สำนวนและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง. การอภิปรายเกี่ยวกับกัมมโดยตรงและกัมมโดยอ้อมชี้ให้เห็นถึงความซับซ้อนในความหมายและการใช้งานจริงในวรรณกรรม.

หัวข้อประเด็น

-สัมปทาน
-กัมมโดยตรง
-กัมมโดยอ้อม
-ภาษาศาสตร์
-พระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายวาทสัมพันธ์ เล่ม ๖ หน้า 64 สัมปทาน อย่างเดียวกัน. เฉพาะในวรรณะว่า 'เป็นที่ไฉ' โดยตรง เข้าสู่สมถะ ทาน เทิด สมมุติ ทาน เทิด (ในแบบ) ย่อมให้จ่างแส่ง สมมุติ เป็นที่ให้เป็นผู้รับให้ จึงเป็นสัมปทาน เทิด. อิม วิหาร จตุทิศสุด สุทธุปมุขสมุทภิคุณสมุท เทมิ [สามวาติ ๒/๒๔] ข้าพเจ้าวิงวิหารนี้ แต่พระภิคุณสมุท มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน ซึ่งมาจากทิศ ๕ [ใช้ถวายอินทนต์ แฉ่ แทน 'แก้' ในที่แสดงความเคารพ] โดยอ้อม ใช้ข้าบาทอื่นได้อีกมาก เช่น เข้ากับธาตุ 'บอกเล่า' อันควรเรียกว่าเป็นที่บอกเล่าเป็นต้น อุ.:- สตุตู อาโรเจตุ. [ภูมารกสมุทสุดรวม ๖/๒] คราบ ทูลแต่พระศาสดา... คามโพชกสูท ทูลสูทุ. [มหากาอุปสก. ๖/๑๓] แสดง... แก่นายน่าบ้าน... ปริจุพาตน น อนุจานต. [สนุตติวามคต. ๕/๑๓] ขอพระองค์ทรงอนุญาตปริจุพานแก้ข้าพระองค์ฯ รวมความว่า บท อุฒติวิวิธิต ที่เป็นกัมมโดยอ้อมใช้ใน อรรถนี้ กัมมโดยอ้อมนี้กับกัมม โดยตรง. กัมมโดยตรงนั้น ได้แก่ อุตตตามม เพราะเป็นผู้ถูกทำหรือเป็น ที่ทำแห่งกาย น ๆ โดยตรง เช่น ทาน ใน อ. ในแบบบ. กัมมโดยอ้อมนั้น ได้แก่สัมปทานในอรรถนี้ เพราะเป็นผู้ถูก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More