ข้อความต้นฉบับในหน้า
โม ๓ มงคลที่ ๓
การแสดงออกถึงความบุ๋ชา
๑. ทางกาย ไม่ว่าจะยันเดินนั่งนอนหรือประกอบกิจฃ เมื่ออยูต่หน้า
ท่านหรืสัญลักษณ์ตัวแทนของท่าน เช่น รูปปั้น ภาพถ่าย ก็อยู่ในอาการสำรวม
๒. ทางวาจา สรรเสริญยกย่องคุณความดีของท่าน ทั้งต่อหน้าและ
ลับหลัง เช่น การสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย การนำความดีของท่านไปสรรเสริญ
๓. ทางใจ ตามระลึกนึกถึงคำสอนของท่านด้วยความเคารพและชื่นชบ
ประเภทรของการบุ๋ชา
การบุ๋ชาในทางปฏิบัติ ๒ ประเภท คือ
๑. อามิสบุ๋ชา คือการบุ๋ชาด้วยสิ่งของ เช่น บูชาเศียรลึกคุณของบิดามารดา ศีษะลึกถึงคุณของครูบาอาจารย์ จึงบูชาโดยภารนำทรัพย์สินเงินทองของใช้ ฯลฯ ไปมอบให้ เป็นต้น การบุ๋ชมพระรัตนตรัยด้วยดอกไม้บูชาเทียนก็จัดเป็นอามิสบุ๋ชาชนั่น
๒. ปฏิบัติบุ๋ชา คือการบุ๋ชาด้วยการตั้งใจประกฏปฏิบัติตามคำสอนด้านแบบอย่างที่ดีของท่าน เช่น พยายามกำจัดความโลก ความโกรธ ความหลงด้วยการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ตามคำสอนของท่าน การปฏิบัติบูชานี้จัดเป็นการบุ๋ชาที่สูงสุด เพราะเป็นวิธีที่จะทำให้กาย วาจา ใจ ของเราใส สะอาด เป็นบันฑิตตามท่านได้โดยเร็ว
ขอเตือนใจ
สำหรับนักเรียนนักศึกษาหรือปฏิบัติธรรม พึงระลึกเสมอว่า สิ่งที่
เราจะเรียนรู้นัน้ ถ้าเทิดทูนบูชา ตั้งใจประกอบอย่างดี ไม่พาไล่เลียง
หรือพูดเล่น ผลของการศึกษาเล่าเรียนตลอดจนการปฏิบัติธรรมของเรา