ความทุกข์ในชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 338
หน้าที่ 338 / 433

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาว่าด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับความทุกข์ที่มีอยู่ในชีวิตของทุกคน ไม่ว่าจะเป็นคนรวยหรือคนจน ทุกข์มีอยู่ทั้งนั้น โดยพระองค์แบ่งความทุกข์ออกเป็น 11 ประเภทและให้เราเห็นว่าทุกข์ประจำชีวิตนั้นมี 3 ประเภท ได้แก่ ชาติ การเกิด, ชรา การแก่ และ มรณะ การตาย ผู้ที่ไม่รู้จักศึกษาจะเข้าใจว่าการเกิดคือความสุข แต่ในทางกลับกันพระพุทธองค์ได้ชี้ให้เห็นว่าการเกิดคือจุดเริ่มต้นของความทุกข์ ผ่านการตีความใหม่ของประสบการณ์การเกิดและความเจ็บปวดที่มาในชีวิตหลังคลอด

หัวข้อประเด็น

-การเกิดและความทุกข์
-การแก่และความทุกข์
-การตายและความหลีกเลี่ยงไม่ได้
-บทเรียนในการพ้นทุกข์
-หลักธรรมในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

看到อธิบายแล้ว 33 ว่าที่เรากู๋ๆ กันอยู่ทุกวันนี้ มีสาเหตุจากอะไร แล้วเราจะได้รับปฏิบัติ เพื่อให้พ้นทุกข์กันเสียที อรัยสมสิ่ง ที่ 1 ทุกษ์ ทุกษ์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจต่างๆ พระพุทธองค์ทรงพบ ความจริงว่า สรรสัตว์ทั้งหลายส่วนตกอยู่ในความทุกข์ จะเป็นมหาเศรษฐี เป็นนายกรัฐมนตรี เป็นประธานาธิบดี เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ก็ทุกข์ทั้งนั้น ต่าง แต่เพียงว่าทุกข์มากหรือน้อย และมีปัญญาพอที่จะรู้หรือเปล่าเท่านั้น พระองค์ได้ทรงแยกแยะให้เราเห็นว่า ความทุกข์นี้มีถึง ๑๑ ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกัน แบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ ได้แก่ ๑. สภาวะทุกข์ คือทุกข์ประจำ เป็นความทุกข์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เป็น สภาพธรรมดาของสัตว์ซึ่งเมื่อเกิดแล้วต้องมี ทุกข์นิ่งนี้ ๓ ประเภทได้แก่ ๑.๑ ชาติ การเกิด ๑.๒ ชรา การแก่ ๑.๓ มรณะ การตาย ผู้ที่ไม่ได้ศึกษาหลักธรรมในพระพุทธศาสนา อย่างมากก็พูดได้ เพียงว่า ความแก่ ความเจ็บ ความตาย เป็นทุกข์ ส่วนการเกิดกลับถือว่าเป็นสุข เป็นพิเศษที่พระเจ้าทรงประทานมาตั้งแต่สวรรค์ แต่พระสัมพุทธเจ้า ทรงทำสมาธิมาก ทรงรู้แจ้งโลกด้วยดวงปัญญาอันสว่างใส และชี้ให้เรา เห็นว่า การเกิดนั้นแหละเป็นทุกข์ ทุกข์ตั้งแต่ต้องขออยู่ในทอง พอจะคลอดก็ ถูกลูกบีบีดันออกมา ศรีษะนิ่งนั่นนั่งช่องคอจงบาดบึยน่ยช้อน เขากัน จากหัวกลมๆ กลายเป็นปุยๆ เจ็บแทบขาดใจ เพราะฉะนั้นทันที ที่คลอดออกมาได้ สิ่งแรกที่เด็กทำคือร้องสุดเสียง เพราะมันเจ็บจริงๆ และ การเกิดนี่เองที่เป็นต้นเหตุ เป็นที่มาของความทุกข์อื่นๆ ทั้งปวง ถ้าเกิดได้ เมื่อไรก็ลุกทุกเมื่อuch
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More