พระสารีบุตรและความอ่อนน้อมถ่อมตน มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 235
หน้าที่ 235 / 433

สรุปเนื้อหา

ในบทสนทนานี้ พระสารีบุตรเน้นการมีจิตใจที่มั่นคงและอ่อนน้อม พร้อมไม่หยิ่งทะนงตน โดยยกตัวอย่างเปรียบเทียบกับภาวะต่างๆ เช่น แผ่นดิน น้ำ ไฟ และลม ซึ่งมีความสงบและสม่ำเสมอ แม้จะมีสิ่งรอบตัวมายุ่งเหยิง หลังจากนั้น พระภิกษุปุรามได้รู้สึกถึงข้อบกพร่องในตัวเอง และยอมรับความด้อยกว่า ทำให้ต้องขอโทษพระสารีบุตร ทั้งนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญพระสารีบุตรในเรื่องความมั่นคงและความสะอาดของจิตใจ ซึ่งจะสามารถหลุดพ้นจากสังสารวัฏได้

หัวข้อประเด็น

-พระสารีบุตร
-ความอ่อนน้อมถ่อมตน
-กิเลส
-คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-การพัฒนาจิตวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๑๐ มงคลที่ ๒๓ พระสารีบุตรตอบว่า กิเลสมิมีได้มีสิตประคองจิตไว้ในกาย ก็จะพึงกระทบเพื่อนสมหวงจรรจ์แล้ววาจาไปโดยไมขอโทษเป็นแน่ แต่ตัวท่านเองนั่น ทำใจเสมื่อแผ่นดิน น้ำ ไฟ ลม และผ้าจะร้อนจะเย็นกับของสะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้างอยู่เสมอ และเสมือนเด็กฉันทาสที่พลัดเข้าไปในหมู่บ้าน หรือเหมือนโคเขาหักเสียแล้ว ยอมไม่มีอำนาจที่จะกลัวกลั อาจหาอญูได้แต่ใด ท่านมีแต่ความเมอร่างกายอันเปล่านั้น ลองพิจารณาดูเองว่า ขนดพระสารีบุตร ซึ่งก่อนบรรทัดรำเรียนจนเจนจบในวิชา ๑๘ ประการมาแล้ว เปรียบสมัยนนี้เท่ากับได้ปริญญา ๑๘ สาขา บวแล้วก็ได้เป็นพระอรหันต์ เป็นอัครสาวกเบื้องขวาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังมีความอ่อนน้อมถ่อมตนถึงเพียงนี้ มีความเจียมตัวอยู่ตลอดเวลา เปรียบตนเองเหมือนผีร้ายเก่าๆ เหมือนโคที่ผ่านมาแล้ว เหมือนเด็กฉันทาส ซึ่งเป็นคนขั้นต่ำในอินเดียสมัยนั้น ไม่มีความถ่องตัวทะนงตนแต่ใด แล้วพวกเราซึ่งยังเป็นปุฏฐุธรรมดาๆ อยู่นี้ล่ะ มีออะไรนักหนาจึงจะมายอัตตัวกัน เมื่อพระสารีบุตรกล่าวอยู่เช่นนี้ พระภิกษุปุรามก็เกิดความร้อนในสรีระเหมือนมีไฟมาเผาดำ อดทนอยู่ไม่ได้ ต้องลุกขึ้นขอโทษพระสารีบุตร และยอมรับสภาพด่่อมๆ สูงๆ กว่านี้ใกล้ความพราสูริต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญพระสารีบุตรวา “มีใจมันคง เหมือนแผ่นดิน เหมือนเสาเขื่อน เป็นผู้จูใสสะอาดปราศจากกิเลส เหมือนน้ำที่ไม่มีฝุ่นหรือโคลนตม สังสารวัฏย่อมไม่มีแก่บุคคลเช่นนี้”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More