สงเคราะห์กรรมในการแต่งงาน มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 138
หน้าที่ 138 / 433

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะและหน้าที่ของภรรยาตามธรรมะในเชิงความสัมพันธภาพกับสามี ระบุถึงความสำคัญของการมีศีลธรรม การประพฤติดี และการทำงานร่วมกันเพื่อสร้างความสุขในชีวิตคู่ โดยมีแนวทางปฏิบัติสำหรับการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในลักษณะของคู่สร้างคู่สม การสร้างฐานความสุขที่ยั่งยืนด้วยหลักธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะภรรยาในธรรมะ
-ความสำคัญของความเสมอภาคในความเชื่อ
-หน้าที่ของสามีและภรรยา
-แนวทางชีวิตร่วมกันที่มีความสุข

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สงเคราะห์กรรม (สามี) ๑๑๓ ปลอบ ประเดี๋ยวจะเที่ยว ประเดี๋ยวจะกิน จะแต่งตัว แก่ชื่อสัตย์ต่อสามี ๖. สัญญา ภรรยาเสมอด้วยเพื่อน คือภรรยาที่มีรสนิยม มีความขอบ เหมือนสามี ถูกคอกัน เป็นคนมีศีลธรรม มีความประพฤติดี แต่อาจมีความ ทะนงตัวโดยถือว่าสมกัน หากฝ่ายตรงข้ามขาดเหตุผลไม่ยอมกันก็เป็นได้ ๗. ทาสิรยา ภรรยาเสมอด้วยคนใช้ คือภรรยาที่ทำตัวเหมือนคนใช้ ถึงสามีจะเมินดีดูดูก ก็ไม่คิดโกรธโกรธตอบสามี อดทนได้ อยู่ใน อำนาจสามี จะดูว่าใครเป็นสามี-ภรรยานิดไหน ต้องดูหลังจากแต่งงานแล้ว ลักษณะหนึ่งจึงจะแทง กรรมแต่งงานมีอยู่ 2 ระยะ คือ - ระยะแต่ง คือตอนเป็นสามีภรรยากัน ต่างคนต่างแต่ง ทั้งแต่งตัว แต่งทางออดคุณสมบัติให้อีกฝ่ายหนึ่งเห็น - ระยะงาน คือหลังจากเป็นสามีภรรยากันแล้ว ต่างคนต่างต้องทำงานตามหน้าที่ ใครมีข้อขัดแย้งมีความรู้ความสามารถ มีความประพฤติ อย่างไรจึงจะปรากฏออกมา ๘. ณ สุมบิต ของคู่สร้างคู่สม พื้นฐานอันมั่นคงที่จะทำให้สามีภรรยารองชีวิตกันยาว มีความสุข คือความภรรยาต้องมี สมชีวิตธรรม ได้แก่ ๑. สมทุกข์ มีศรัทธาเสมอกัน ได้แก่ มีหลักการ มีความเชื่อมั่นใน พระพุทธศาสนา มีเป้าหมายชีวิตเหมือนกัน ๒. สมสีสา มีสีเสมอกัน ได้แก่ ความประพฤติดีศีลธรรมจรรยา กิริยา มารยาทอบรมมาดีเสมอกัน ๓. สมอาคา มีจาคะเสมอกัน ได้แก่ มีเมตตาเสียสละ ช่วยเหลือ ไม่เห็นแก่ตัว ใจกว้างเสมอกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More