ข้อความต้นฉบับในหน้า
มงคลชีวิต ๓๙
คือองค์อวตาลปางที่ ๙ ของพระวิษณุ แล้วนับเอาผู้ที่ครรพนับถือพระพุทธเจ้
เข้าเป็นชาวอินดูหมด ทางด้านของพระพุทธศาสนาเองเมื่อมีปัญหาความ
แตกแยกภายใน ประกอบกับชาวพุทธโดยทั่วไปไม่มีความรู้ในพระธรรมอย่างแท้
เมื่อพบกันยุทธวิธีของศาสนาภินดูเข้าเช่นนี้ ชาวพุทธก็ยังสนใจ แยกไม่ออก
ระหว่างพระพุทธศาสนากับศาสนาอื่น ซึ่งที่เป็นชาวพุทธก็ครรนับถือคราบ
ไหว้พระพรหม เทพเจ้าต่าง ๆ เจ้าพ่อเจ้าแม่ต่าง ๆ พระภิษุสูงเสมอ
ส่วนก็หันไปเอาใจชาวบ้าน เห็นเขานับถือเทพต่าง ๆ เจ้แม่ต่าง ๆ ก็เอารูปปั้น
ของเทพเหล่านั้นนั่นไว้ในวัด ให้ชาวบ้านกราบไหว้ซ่า ที่สุดชาวบ้านก็แยกไม่
ออก คิดว่าพุทธศาสนากับศาสนาอื่นก็สิ่งเดียวกัน ชาวพุทธแต่เดิมก็ครอบ
ลายเป็นชาวอินดูไปค่อนตัวแล้ว และต่อมาเมื่อเจอเหตุการณ์เคยเกิดขึ้นทีเดียว
ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ กองทัพมุสลิมบุกเข้าอินเดียไม่จากทางตอน
เหนือและประกาศทำลายพระพุทธศาสนา เผยว่ามาจากอาราม มาทำพระภิษุสูง
ทั้งมีการให้รางวัลแก่วัดดีที่ศิริพระภิษุสูงมาส่งให้ พระภิษุสูงจึงต้องลึก
มินั้นก็ต้องอพยพหนีไป พระพุทธศาสน็มชะนั่น มีเพียงพระภิษุช
สงมังกรจำนวนซ่าน้อยที่รู้จริงในคำสอนของพระพุทธศาสนา ส่วนชาวพุทธทั่วไปนั้น
ขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง ดังนั้นเมื่อพระภิษุสูงหมด พระพุทธ
ศาสนาก็หมดจากประเทศอินเดียในที่สุด
จากบทเรียนที่เกิดขึ้นในอินเดียดังกล่าว เราอาจสรุปได้ว่า ความมั่นคง
ของพระพุทธศาสนาจะต้องประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญคือ ชาวพุทธต้องเป็น
ชาวพุทธที่แท้จริง มีความรู้ความเข้าใจในคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง
โดยต้องศึกษาทั้งปฎิบัติและปฏิรูปเพื่อให้เกิดปฏิรูป คือผลของการปฏิรูป นำ
หลักธรรมมาใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ
ชาวพุทธจะต้องมีความสามัคคีกัน เว้นจากการให้ร้ายกัน พระพุทธศาสนาจึงจะ
มั่นคงอยู่ได้อย่างแท้จริง
๓) Jamanadas , K. Decline and Fall of Buddhism (A Tragedy in Ancient India).
Chapter 1 , p1
๔) กองทัพมุสลิมบุกเข้า มหาวิทยาลัยสันนทาและมหาวิทยาลัยวุธิธิสึของ
พุทธประาณี พ.ศ.1740 และ 1746 ตามลำดับ อ้างแล้ว . p.187
๕) Mayeda , Sengaku . (1990) History of Indian Philosophy , p.187