การฟังธรรมและคุณสมบัติของผู้แสดงธรรม มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 260
หน้าที่ 260 / 433

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการฟังธรรมและการรับรู้ถึงความสำคัญของการฟังธรรมจากผู้รู้ โดยเน้นคุณสมบัติของผู้ที่จะแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง จำเป็นต้องมีคุณสมบัติตามที่พระพุทธเจ้ากำหนด เช่น ต้องแสดงธรรมอย่างเป็นระเบียบ มีความรู้ที่แน่นหนาก่อนการถ่ายทอด และสามารถนำเสนอความรู้ให้เข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง. ข้อมูลนี้เป็นที่มาสำหรับการพัฒนาความเข้าใจในธรรมะ

หัวข้อประเด็น

-ฟังธรรม
-คุณสมบัติผู้แสดงธรรม
-การแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง
-พัฒนาตนเองด้านธรรมะ
-เข้าใจพุทธวจน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ฟังธรรมมาตามภาค ๒๒๕ ๒.๑ เมื่อพยาบาลวิิดากำเริบ คือเมื่อใจของเราถูกความโกรธเข้า ครวบง เกิดความรู้สึกอยากกลั่นแกล้งผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น การคิดผลาญทรัพย์ ผลาญชีวิต หรือผลาญเกียรติยศศักดิ์ศรี ก็ทาม ๒.๓ เมื่อวิญาสาวิกกำเริบ คือเมื่อใดที่ใจของเราเกิดความคิดอยาก จะเบียดเบียนผู้อื่น คิดจะเอาเปรียบ คิดจะกลั่นแกล้งเขา เมื่อใดที่ความคิดทั้ง ๓ ประเภทนี้เกิดขึ้น ให้นำไปพิจารณา อย่ามั่ว ชักช้า มันจะนั่นอาจไปทำผิดพลาดเข้าได้ ๓. เมื่อมีผู้มาแสดงธรรม คือเมื่อมีผู้มีความรู้ความสามารถและ มีธรรมมาแสดงธรรมให้เราฟัง เพราะบุคคลเช่นนี้หาได้ในโลก ต้องรอให้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลกก่อน แล้วต้องตั้งใจศึกษาธรรมของพระ- องค์ให้เข้าใจแตกฉาน เท่านั้นยังไม่พอ จะต้องมีความสามารถถ่ายทอดความรู้ ให้ผู้อื่นได้ด้วย ดังนั้นเมื่อมีโอกาสเช่นนี้เราต้องรีบฟังธรรมจากท่าน คู่ ณ สมบัติของผู้แสดงธรรมที่ดี "อนนท์ การแสดงธรรมให้คนอื่นฟัง ไม่ใช่งของง่ายเลย ผู้ที่จะ แสดงธรรมให้คนอื่นฟัง จะต้องอยู่ในธรรมถึง ๕ ประการ" ซึ่งคือพุทธวจนที่รัศเบาะ- อานนท์ ถึงคุณสมบัติของผู้แสดงธรรมที่ดี ๕ ประการ คือ ๑. ต้องแสดงธรรมไปตามลำดับของเรื่อง ไม่วกวน ไม่กระโดดข้ามข้อตอน แสดงธรรมมลักษณ์ไปตามลำดับ ซึ่งผู้ที่จะแสดงเช่นนี้ได้จะต้อง ๑.๑ มีความรู้จริง รู้เรื่องที่จะเทคนิคจะสอนดีพอที่จะทราบว่าจะพูดก่อน อะไรควรพูดหลัง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More