มงคลที่ 11: ความสัตย์จริงและการพูดที่ดี มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 167
หน้าที่ 167 / 433

สรุปเนื้อหา

มงคลที่ 11 สอนให้เราไม่พูดคำเท็จ ไม่ว่าจะเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือคนอื่น รวมถึงการหลีกเลี่ยงการพูดส่อเสียดและคำหยาบ ทั้งนี้เพื่อรักษาความสมัครสมานสามัคคีในสังคม การพูดที่จริงใจสร้างปัญญาและความสุข สะท้อนถึงความสำคัญของการเลือกใช้คำ โดยมีเจตนารมณ์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและลดความบาดหมาง นอกจากนี้ยังเน้นให้หลีกเลี่ยงคำพูดที่ทำให้ผู้อื่นรู้สึกไม่สบายใจ เพื่อให้ทุกคนมีความสุข อย่างไรก็ตามการสื่อสารที่มีจริยธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้สังคมสงบสุขและเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ความสัตย์จริง
-การพูดที่ดี
-จริยธรรมในการสื่อสาร
-ความสมัครสมานสามัคคี
-การหลีกเลี่ยงคำหยาบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

1256 มงคลที่ 11 - ไม่ยอมพูดคำเท็จเพราะเหตุแห่งตน กลัวอายถึงนิ่งโกหก - ไม่ยอมพูดคำเท็จเพราะเหตุแงคนอื่น รักเขาอยากให้เขาได้ประโยชน์จึงโกหก หรือเพราะเกลียดเขา อยากให้เขาเสียประโยชน์จึงโกหก - ไม่ยอมพูดเท็จเพราะเห็นแก่มีสินจ้าง เช่น อยากได้เงินทองสิ่งของ จึงโกหก เจตนารมณ์ของกุศลรรมบถข้อนี้ ต้องการให้ทุกคนมีความสัตย์จริง กล้าเผชิญหน้ากับความจริงเยี่ยงสุขภาพ ไม่มีปัญหา หรือหาประโยชน์ใส่ตัวด้วยการพูดเท็จ 5. เน้นจากการพูดส่อเสียด คือไม่เก็บความขุ่นโพลน เก็บความขุ่นโพลนมาบอกข้างนอกด้วยเจตนาจะหยแยให้เขาแตกกัน ควรกล่าวแต่ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความสมัครสมานสามัคคี เจตนารมณ์ของกุศลรรมบถข้อนี้ ต้องการไม่ให้คนเราทำความชอบด้วยการประจบสอพลอ ไม่เป็นมิ่งชังสุง ต้องการให้มโนคณะสงบสุขสมดียิ่ง 3. เน้นจากการพูดคำหยาบ คือไม่พูดคำซึ่งทำให้คนฟังเกิดความระคายใจ และสบ่າพูดของเป็นคนมิลูกกล้าได้แก่ คำว่า = พูดผิดร้อน แทงหัวใจ พูดดให้ต่ำ คำประเด็น = พูดกระเทกแตกดัน คำกระทบ = พูดเปรียบเปรยให้เจ็บใจเมื่อได้คิด คำแดกดัน = พูดกระเทกกระทั้น คำสบถ = พูดแข็งชักกระดูก คำหยามโลน = พูดคำที่ส่งคงเกียจ คำขยะต = พูดให้หวาดกลัวจะถูกทำร้าย เจตนารมณ์ของกุศลรรมบถนี้ ต้องการให้ทุกคนเป็นสุขพน รู้จัก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More