มงคลที่ ๕๕: ความหวั่นไหวของจิตในโลกธรรม มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 357
หน้าที่ 357 / 433

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้พูดถึงคำว่า 'จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม' และอธิบายความหมายของความหวั่นไหวและความปรารถนาของจิตมนุษย์ต่อโลกธรรมนั้น ประกอบด้วยสองประเภท ได้แก่ ความปรารถนาที่คนทั่วไปต้องการ และความกลัวที่คนทั่วไปหวาดกลัว เช่น การได้ลา, ยศ, สรรเสริญ และสุข ซึ่งเป็นสิ่งที่คนทั่วไปแสวงหา ขณะเดียวกันก็มีกลัวการเสียลาภ, เสียยศ, ถูกนินทา และตกทุกข์ บทความสามารถช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างจิตใจและโลกแห่งความเป็นจริงได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ความหวั่นไหวของจิต
-โลกธรรม
-ความปรารถนาและความกลัว
-ผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๒๐ มงคลที่ ๕๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรมคืออะไร? จิตหวั่น คือความหวั่นหวาดกลัวว่าจะประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ จิตไหว คือความปรารถนาอยากได้สิ่งที่ตนชอบใจ โลกธรรรม คือเรื่องราวที่เกิดขึ้นประจำโลก ใคร ๆ ก็ต้องพบ หลักเลี่ยงไม่ได้ แม้พระสัมมนาสพูดเจ้าก็ทรงประสบ มีอยู่ ๘ ประการ แบ่งเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ก. ฝ่ายที่คนทั่วไปปรารถนาอยากได้ คือ ๑. ได้ลา คือการได้ผลประโยชน์ เช่น ได้ทรัพย์ ได้อุต-สรา ได้บ้าน ได้ที่ดิน ได้เพชรพลอยต่าง ๆ เป็นต้น ๒. ได้ยศ คือการได้รับตำแหน่ง ได้รับฐานะ ได้อานเป็นใหญ่เป็นโต ๓. ได้สรรเสริญ คือการได้ยินได้ฟังกำชมเชย คำยกยอ คำสรรเสริญดี ๆ ๔. ได้สุข คือได้รับความสบายกายสบายใจ ได้ความเบิกบานร่ำรวย ได้ความบันเทิงใจ ทั้ง ๔ อย่างนี้ เป็นเรื่องที่คนทั่วไปชอบ ยังไงก็คิดหา คิดหวัง หวังมาก ๆ เขาก็ทึง การที่คิดมีอาการหวาดหวั่น นี้แหละเรียกว่า จิตไหว ข. ฝ่ายที่คนทั่วไปกลัวว่าจะเกิดขึ้นกับตน คือ ๑. เสียลาภ คือผลประโยชน์ที่ได้มาแล้วเสียไป เช่น เสียเงิน เสียที่อยู่ ลูกรักตายเสีย เมียรักตายจาก ๒. เสียยศ คือถูกลดความเป็นใหญ่ ถูกถอดออกจากตำแหน่ง ถูกถอดอำนาจ ๓. ถูกนินทา คือถูกตำหนิติเตียน ถูกว่าในที่ต่อหน้าหรือหลัง ๔. ตกทุกข์ คือได้รับความทุกข์ทรมานทางกายหรือทางใจ ทั้ง ๔ ประการนี้ เป็นเรื่องที่คนเราไม่ชอบ ไม่ปรารถนาให้เกิดขึ้นกับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More