การเรียนรู้และความรู้ในพระพุทธศาสนา มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 86
หน้าที่ 86 / 433

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ ๔ ประการในพระพุทธศาสนา ได้แก่ การรู้กว้าง, รู้ใกล้, พร้อมแนวทางการพัฒนาความรู้และความจำ เช่น การอ่านฟังที่มากขึ้น และการฝึกท่องจำเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนให้นักศึกษาใช้ความจำให้ดีและได้ผล เพื่อให้เป็นที่มีคุณสมบัติคุ้มค่าตามหลักพุทธศาสนาในชีวิตประจำวัน.

หัวข้อประเด็น

-รู้กว้าง
-รู้ใกล้
-พุทธสุด
-การฝึกความจำ
-การเรียนรู้จากครู

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นพูดดู ๑๖ ๓. รู้กว้าง หมายถึง สิ่งรอบตัวแต่ละองค์ที่รู้กว้างละเอียด ยิ่งคามเกี่ยวพันของสิ่งนั้นกับสิ่งอื่นๆ ด้วย คลายรอบแต่เก็บรายละเอียดยิ่งขึ้น ๔. รู้ใกล้ หมายถึง มองการณ์ไกล ยิ่งผลที่จะตามมในอนาคต เช่น เห็นสภาพดินฟ้าอากาศ กรีฑทันทีว่าปีนี้ผลชนิดใดจะขาดแคลน เห็นพฤติกรรมของผู้รวมงานไม่นานไว้วามใจ กรีฑทันที่ว่ากลัวเขากำลังจะคิดไม่ชื่อ เห็นตนเองเริ่มหย่อนดอาการปฏิบัติธรรม กรีฑทันว่าถึงใจเช่นนี้ต่อไปคนก็จะเสื่อมจากกุลสวรรค์ ฯลฯ ผู้ที่ประกอบด้วยความรู้ ๔ ประการนี้ ทั้งทางโลกและทางธรรมจึงจะเป็นพุทธที่แท้จริง คุ ณ สมบัติดี ของ พุทธสุดหรือ นักศึกษาที่ดี ๑. พุทธสุด อ่านมาก ฟังมาก คือนิยสิ่งขอบฟัง ขอบอ่าน ขอบค้นคว้า ยึดหลัก “เรียนจากครู ดูจากตำรับ สติปปัญญา” ๒. ชฎา จำได้แม่นยำ คื อความจำดี รู้จักจับสาระสำคัญ จับหลักให้ได้ แล้วจำได้แม่นยำ คนที่ความจำดี เพราะภาพในอดีตชอบพูดดี ดื่มสุรา ฯ ดังนั้นในเขาถึงนี้เลิกดื่มสุรา เลิกพูดปลดและพยายามท่องบ่อยๆ หน้าจดหมายเนียบบ่อยๆ ไม่ก็จะเป็นผู้มีความจำดี ๓. วาสน ปริจิต ท่องได้คล่องปาก คื อต้องฝึกท่องให้คล่องปากท่อง จนขึ้นใน จำได้คล่องแคล่วจัดเจนไม่ต้องพลัดวา โดยเฉพาะพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นความจริงแท้แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลง ควรท่องไว้ให้ขึ้นใจทุกกระทวงความ ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ส่วนวิชาการทางโลกยังมีการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ เพราะยังไม่มีใครรู้จริง จึงควรท่องเฉพาะที่สำคัญและหมุนคิดหาเหตุผลด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More