ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๒๒ มงคลที่ ๒๙
หลัก คำ ของสมณะ ใน เชิง ปฏิบัติ
๑. สมณะ ต้อง ไม่ ทำ อันตรายใคร ไม่ว่าทางกาย หรือ ทางวาจา ก็ ทำ ความเดือดร้อน ให้ใคร แม้ ใน ความ คิด ไม่ คิด ร้าย ใคร
๒. สมณะ ต้อง ไม่ เห็น แก่ กาล ดำรง ชีวิต อยู่ เพียง เพื่อ ทำ ความ เพียร มี ความ สันโดษ ไม่ เป็น คน เห็น แก่ ปาก แก่ ท้อง
๓. สมณะ ต้อง บำเพ็ญ สมณธรรม พยายาม ฝึก ฝน ตนเอง ไม่ เอา แต่ นั่ง ๆ นอน ๆ แต่ บำเพ็ญ จิต วิบัติ ของ สมณะ เช่น การ สวดมนต์ ทำ วัตร การ ศึกษา พระ ธรรม วินัย กิ เล ย วราย ราย ต่าง ๆ ตั้ง ใจ ฝน อย่าง เต็ม ที่
๔. สมณะ ต้อง บำเพ็ญ ตบะ คือ ทำ ความ เพียร เพื่อ ทำ จัด เลส เป็น ทหาร ใน ทพ พระ ธรรม อย่าง เต็ม ที่ ตั้ง ใจ รอบ เรน นะ สร ให้ ได้ ไม่ว่าจะ โดย การ เดินจงกรม ทำ สมาธิ อยู่ จุด ดัง กล่าว ติด ตาม
─────────────────────────
บท นิด ของ การ เห็น สมณะ
การ เห็น ของ คน แบ่ง ออก เป็น ๓ ระดับ
๑. เห็น ด้วย ตา เรียกว่า พบ เห็น คือ เห็น ถึง รู ป งาม ลักษณะ กิริยา มาร ยา อัน ส่ง งาม และ สง่าของ ท่าน
๒. เห็น ด้วย ใจ เรียกว่า คิด เห็น คือ นอก จาก จะ เห็น ตัว ท่าน ซึ่ง เป็น สมณ บุคคล แล้ว ยิ่ง พิจารณา ตรง ดู ด้วย ใจ จน ส มารถ คาด คะ เน็น ได้ คุณ ธรรม ภายใน ที่ ทำ ให้ เห็น สงบ เสียง สง บ แต่ สงบ อย่าง น่า อัศจรรย์ หรือ เรียกว่า เห็น ถึง สมณ ธรรม ของ ท่าน
๓. เห็น ด้วย ญาณ เรียกว่า รู้ เห็น คือ ไม่ ใช้ เพียง การ คิด คาด คะ เน เน็น ถึง คุณ ธรรม ของ ท่าน เท่านั้น แต่ เห็น ด้วย ญาณ ทัศนะ เห็น ด้วย ปัญญา ทาง ธรรม ที่ ดียิ่ง ว่า ท่าน มี คุณ ธรรม มาก เพียงใด เป็น การ เห็น ของ ผู้ ที่ ปฏิบัติ ธรรม มาดี แล้ว