การฝึกปฏิบัติธรรมและพระวินัยในพุทธศาสนา มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 334
หน้าที่ 334 / 433

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความสำคัญของพระวินัยที่เมื่อออกจากตัวแล้วจะไม่ถือว่าเป็นพระอีกต่อไป นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางในการปฏิบัติธรรมให้เต็มที่ พร้อมทั้งอานิสงส์การประพฤติดีพรหมจรรย์ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติมีจิตใจที่สงบและปลอดภัย อธิบายถึงการสงเคราะห์สังคมควรเป็นไปตามหลักการปฏิบัติธรรม โดยมีเบื้องหลังให้เห็นตัวอย่างที่ดีให้กับชาวพุทธโดยการมีวินัยและความสำรวม เช่นว่าการบิณฑบาตในระเบียบ นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างของข้อเสียจากการถามต่างๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหาในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของพระวินัย
-การปฏิบัติธรรมในพุทธศาสนา
-อานิสงส์จากการประพฤติดี
-การสงเคราะห์สังคมในฐานะพระ
-การมีวินัยและความสำรวมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ยุควินัยออกจากตัวเสียแล้วแม้จะมุ่งผ้าเหลืองก็ไม่ใช่พระ นอกจากจะไม่ใช่พระแล้ว ชาวพุทธยังถือว่าผู้นั้นเป็นโจรล้นศาสนอีกด้วย เพราะฉะนั้นต้องศึกษาพระวินัยและรักษาโดยเคร่งครัด ไม่อย่างนั้นก็ออกมาแล้วจะมาเสียใจจนตายว่าบวชเสียผ่าเหลืองเปล่า ๆ ๕. การปฏิบัติธรรม ควรใช้เวลาในการศึกษาพระธรรมวินัย และเจริญสมถภาพอย่างเต็มที่ งดคุยเถอะอย่าไล่สาระ ๖. การสงเคราะห์สังคม พระบรม ๓ เดือน ควรเน้นประโยชน์ตน คือ การปฏิบัติธรรมเป็นหลัก และกิจกิจช่วยเหลืองานหมู่คณะด้วย แต่ต้องไม่ให้เสื่อมปฏิบัติธรรม ถจะสงเคราะห์ญาติยโยม ก็ขอให้ใจปฏิบัติตัวให้ดี บิณฑบาตให้เป็นระเบียบ จะเดินจะนั่งก็ RIAM สำรวมเป็นต้องแห่งศรัทธา ใหญ่อยู่โยมเขาได้เห็นเป็นตัวอย่างในความมีวินัยและความสำรวมตน อานิสงส์การประพฤติดีพรหมจรรย์ ๑. ทำให้ปลอดโปร่งใจ ไม่ต้องกังวลหรือระแวง ๒. ทำให้เป็นอิสระ เหมือนนกน้อยในอากาศ ๓. ทำให้เวลามากในการทำความดี ๔. ทำให้เป็นที่สรรเสริญของบัณฑิตทั้งหลาย ๕. ทำให้ ศิลา สมาธิ ปัญญา เจริญอุตหน้าไม่ออกกลับ ๖. ทำให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้โดยง่าย ฯลฯ "ถามทั้งหลายมีโทษมาก มีทุขขมาก มีความพอใจน้อย เป็นบ่อเกิดแห่งความทะเลาะวิวาทกัน ความชั่วเป็นอันมาก เกิดขึ้นเพราะถามเป็นเหตุ..." (นิยม มหาทุกข์ขันธ์สูตร) ม. มูล ๑๒/๑๙๗/๑๒๘-๑๒๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More