ความสุขและการใช้ทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 246
หน้าที่ 246 / 433

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้เสนอหลักปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์สิน รวมถึงวิธีการใช้ทรัพย์อย่างมีสติ โดยแบ่งคนจนออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คนจนชั่วคราวที่ขาดแคลนและคนจนถาวรที่มีมากแต่ไม่รู้จักพอ การรู้จักพอเป็นคุณธรรมที่จะช่วยยุติความขัดแย้งในสังคม และนำความสงบสุขมาสู่ชุมชน และทำให้คนมีความสุขด้วยทรัพย์ที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่.

หัวข้อประเด็น

-หลักปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์สิน
-ประเภทของคนจน
-คุณธรรมในการใช้ทรัพย์
-ความสุขจากการรู้จักพอ
-การแบ่งปันในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มีความสุขใด ๒๒๑ หลักปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์สิน ๑. การแสดงหา ต้องหาโดยชอบธรรม ไม่มาหลอกลวงใคร ไม่ทำผิดกฎหมายผิดประเพณีผิดศีลผิดธรรม ๒. การใช้ ไม่เป็นคนตระหนี่และก็ไม่ฟุ่มเฟือย ให้รู้จักใช้ทรัพย์เลี้ยงตนและคนเกียวของให้เป็นสุข รู้จักทำทาน เผื่อแผ่ แบ่งปัน ใช้ทรัพย์ทำสิ่งที่ดีงามเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ๓. ทัศนคติเกี่ยวกับทรัพย์สิน ไม่ถือว่าทรัพย์สินเงินทองเป็นพระเจ้าแต่ให้ถือว่าเป็นเพียงอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิตเท่านั้น ป ระเภทของคนจน คนจนในโลกล่มนี้มียู่ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. จนเพราะไม่มี คือคนที่ขาดสนทรัพย์ มีทรัพย์น้อย จัดว่าเป็นคน “จนชั่วคราว” ถามาถามว่าถามหากินถุกช่องทาง ยอมมีโอกาสสวยได้ ๒. จนเพราะไม่พอ คือคนที่มีทรัพย์มากแต่ไม่รู้จักพอ จัดว่าเป็นคน“จนถาวร” เป็นเศรษฐูอุดมาภา ต้องจนฉว atly สันโดด คือการรู้จักพอ จึงเป็นคุณธรรมที่มหัศจรรย์ สามารถทำให้คนเลิกเบียดเบียนกัน เลิกฟุ้งเฟ้อเหอ เหลาะเผา เลิกสงคราม ทำให้คนอิ่มใจได้แม้มทรัพย์ มียศ มิตาแห่งน้อย และทำให้คนรวยเป็นเศรษฐ์ได้ โดยสมบูรณ์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงสรรเสวกา “สนคุณจิรปฐม ธน ความสนใจเป็นยอดทรัพย์” ขุ. ธ. ๒๕/๒๕/๒๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More