ข้อความต้นฉบับในหน้า
2749 มงคลที่ ๑๐
๑.๑ เรื่องที่พูดต้องเป็นเรื่องจริง
๑.๒ ต้องพูดดูดถ้อยคำที่ไพเราะ
๑.๓ เรื่องที่พูดนั้นเป็นเรื่องมีประโยชน์
๑.๔ ต้องพูดด้วยจิตเมตตา
๑.๕ ต้องพูดถูกกาลเทศะ
การพูดธรรมนันจะต้องยึดเอาความถูกต้องเป็นหลัก ไม่ใช่พูดเอาความถูกใจ คนส่วนมากในโลกนี้ชอบให้ชม แต่สวนทนธรรมกันแล้ว มัวไปนั่งชมอยู่เฉยๆว่า “คุณเก่ง ฉันก็เก่ง” เดี๋ยวก็ได้บ้ากันทั้งคู่ แต่ไม่ไปรามั่งติอบอย่างเดียว “คุณสียอ้นโน้นก็มีดี อันนี้ก็ไม่ดี” คนเรายังไม่หมดกิเลส เดียงดีกันไม่ได้ ยิ่งแก้แย่มีการยกตนข่มท่านเข้าไปอีก หรือไม่ก็เล่าสำนักมอวดกัน “ถึงฉันไม่เก่ง อาจารย์ฉันก็เก่งนะ” อะไรท่านอุ่น เดี๋ยวก็ถูกใจเจ็บกัน สนทนาธรรมไปได้ ๒-๓ คำจะกลายเป็นสนทนากรรมไป จะต้องมีความพอเหมาะพอดี รู้จักไว้วาจาสุจริต
๒. คู่สนทนาต้องฟังธรรมเป็น การฟังธรรมนี้ผิไม่ฝืน ๆ เหมือนจะง่ายถึงเวลาก็แค่ปั่นฟังไม่เห็นจะมีอะไร แต่ในความเป็นจริงแล้ว การฟังธรรมที่ถูกต้อง คือฟังด้วยความพิจารณา รู้จักควบคุมให้พิจารณาตามธรรม หยิยกเอาประโยชน์จากการฟังนี้ยาก ยากกว่าการพูดธรรมให้คนอื่นฟังหลายเท่าที่ว่ายนั้นก็เป็นเพราะ
๒.๑ ยกที่จะควบคุมใจให้อยากฟังธรรม เพราะการฟังธรรมนี้ไม่สนุกเหมือนการไปฟังละคร ฟังเพลง ถ้าไม่รู้จักควบคุมตนเอง ฟังไปไม่สักนิดนิดหน่อยก็เริ่มหนุกพอจะหลับเอา หรือไม่อย่างนั้นก็ฉลอ ย คิดไปถึงเรื่องอื่น มีเปรียบว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้ยังดีกว่าควบคุมใจให้อยากฟังธรรมนี้
๒.๒ ยกที่จะยอมรับธรรมะที่ได้ยินนั้นเข้าไปสู่ใจ ทั้งนี้ก็เพราะกิเลสต่าง ๆ ในตัวเรา เช่น ความหวัวดี ความเชื่อผิด ความเห็นผิด ฯลฯ มักคอยต่อต้านธรรมะไว้ พอเรื่องธรรมะที่ได้ฟังขัดกับความเคยชินประจำตัว เช่น ฟัง