ข้อความต้นฉบับในหน้า
สนทนาธรรมตามภาค ๒๙๑
หรือไม่ ถ้าเราไปกล่าวค้านหรือปฏิเสธโดยเด็ดขาดไว้นแล้ว ประกายแรก ก็ไม่รู้จะใช้อะไรเป็นมาตรฐาน ประกาศที่ ๖ หากคุณทนอธิษฐานหรืออธิษฐานแล้วแจ้งถึงเหตุผลให้เราฟัง แมเราจะเข้าใจถ้าจะไม่ยอมรับ เพราะกลัวเสียหน้า มีกฎสิก ทำให้เกิดการวิวาทบาดหมางกันได้ ดังนั้นสำหรับอรรถถากหรือภิทา เมื่อไม่เห็นด้วย ก็ควรแสดงเพียงแต่ว่ารู้สึกสงสัย หรือแสดงความเห็นของตนว่าจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้มากกว่า พร้อมกับขอความเห็นจากคุณทน
๗. ไม่พูดว่าทำให้เกิดความแตกแยก ไม่ใช่คำพูดว่าราวรุนแรงแต่ใช้จากท่องักให้เกิดความสามัคคี ประสานน้ำใจ
๘. ไม่แสดงอาการโกรธเมื่อถูกขัดแย้ง เราพูดอะไรไปเขาแยงมา อย่าเพิ่งโกรธ ให้พิจารณาใต้ตรองโดยแยบคาย เพราะบางที่เราอาจมองข้ามอะไรบางอย่างไป เรื่องบางเรื่องอาจถูกในที่หนึ่งแต่ในอีกที่หนึ่ง ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ ถ้าเราด่วนโกรธเสียก่อน ความคิดที่จะตรตรองตามก็ไม่มีปัญญาของเราจะถูกว่าความโกรธอับหมด
๙. ไม่ปรารถนาลามก คิดที่จะให้คนมีชื่อเสียง อยากเด่นอยากดัง ตั้งใจจะฉกฉ่อนผู้อื่นเพื่อให้ดังก์ ถาวันไหนจะไปสนทนาธรรมแล้วเกิดมีความรู้สึกอยากจะไปฉกหน้าครู วันนั้นนอนอยู่บ้านดีกว่า มันไม่เป็นธรรมตั้งแต่นั้นแล้ว อย่าไปสร้างเวรสร้างกรรมเลย
๑๐. ตั้งจิตไว้ว่าจะสนทนาธรรมเพื่อให้เกิดปัญญา จจะเอาความรู้ของเราไปต่อเอาความรู้คนอื่นเขามา ไม่ใช่ไปเพื่ออวด แต่จะไปแลกเปลี่ยนความรู้กัน
๑๑. ไม่พูดออกนอกเรื่องที่ตั้งประเด็นไว้ ไม่อย่างนั้นจะกลายเป็นอวดดีหรือสนิทคนอื่นไป เช่น พูดเรื่องบาป พูดไปพูดมากลายเป็นว่า “ฉันนะแต่งทำทานไว้ที่นี่น่ะ” กลายเป็นอวดว่านในใจบุญนะ หรือพูดเรื่องทน พูดไปพูดมากลายเป็นว่า “อยู่! แมคนั้นนะนี่เหนียว อาตมาผู้คนั้นก็นี้เหนียว” ถาม