หลักการขันติและการเอาชนะความโกรธ มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 270
หน้าที่ 270 / 433

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของขันติในการจัดการกับความโกรธ และการมีใจเบิกบาน โดยนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการไม่ทําร้ายผู้อื่นและการตอบสนองต่อความโกรธอย่างมีสติ เพื่อให้เกิดความสงบสุข ไม่ให้ความโกรธนำไปสู่ความทุกข์ให้แก่ผู้อื่นและตนเอง โดยสามารถพัฒนาความอดทนและความเข้าใจในตนเอง เพื่อให้มีใจที่ผ่องใสเสมอไป ไม่มีการโทษสิ่งอื่น รวมถึงการพยายามทำงานด้วยความสุขและอดทน.

หัวข้อประเด็น

-หลักการขันติ
-การจัดการกับความโกรธ
-การมีใจเบิกบาน
-ความอดทน
-การไม่ทำร้ายผู้อื่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ม.คามวดตน ๒๔๕ “ผู้ใดโกรธตอบผู้ที่โกรธก่อนแล้ว ผู้นั้นกลับเป็นคนเลวกว่าผู้ที่โกรธก่อน ผู้ที่ไม่โกรธตอบบุคคลกำลังโกรธอยู่ ยอมชื่อว่า เป็นผู้ชนะสงครามอันชนะได้ยากยิ่ง” ส. ส. ๑๕/๑๓๙/๒๕๒ ๗. ไม่ปลูกน้ำตาให้แก่อื่นๆ คือไม่อาฆาตให้แก่อื่น ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนหรือเจ็บแค้นใจจน น้ำตาไหล ด้วยอำนาจความเกรี้ยวกราดของเรา ๕. มีใจเบิกบานแม่อยู่เป็นนิตย์ คือมีดีออ่มใจเสมอๆ ไม่พยายาม ไม่โทษฟ้า โทษฝน โทษวาดา โทษโชคชะตา หรือโทษใครๆ ทั้งนั้น พยายามอดทนทำงานทุกอย่างด้วยใจเบิกบาน ลักษณะความอดทนนัน่ โบราณท่านสอนลูกหลานไว้ อีก ว่า “ปิดหูขวา ปิดตาซ้าย ง อิดปากเสียง นอนนั่งสบาย” คนบางคนนี้เขาทำงาน บางคนนี้เขียนหนังสือ บางคนเกาะเกร พอมีผู่าว่า ลักตเตือนก็เฉยเสีย แล้วบอกว่าตนเองกำลังบำเพ็ญขันติ บารมี อย่างนี้เป็นการเข้าใจผิด ดีความหมายของขันติไม่ได้หมาย ถึงการตกอยู่ในสภาพใดก็ตามอย่างนั้น พวกที่กินกันจนต่อไป ไม่ขวนขวายทำงานหากิน จัดเป็นพวกตายด้าน พวกที่เก๊กนงไม่ไป ใครสอนให้ไม่เอา จัดเป็นพวกดื้อด้าน พวกที่ออแล้วก็ยังอีก ใครห้ามก็ไม่ฟัง จัดเป็นพวกดื้อดีง ลักษณะที่สุดยิ่งของขันติ คือตลอดเวลาที่อตนอยู่นั้น จะต้อง มีใจผ่องใส ไม่เศร้าหมอง เราสรุปลักษณะของขันติโดยย่อได้ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More