ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๙๘ มงคลที่ ๒
ค ว า ม ไม่ ป ร ะ ม า ท คื อ อะ ไ ร?
ความไม่ประมาณ คือการมีติกับตัวอยู่เสมอ ไม่ว่าจะคิด จะพูด จะทำสิ่งใด ๆ ไม่ยอมถลงไปในทางที่เสื่อม และไม่ยอมผิดโอกาสในการทำความดี ตระหนักถึงสิ่งที่ต้องทำ ใจคงสำนึกอยู่เสมอในหน้าที่ ไม่ปล่อยละเละเลย กระทำอย่างจริงจังและดำเนินรุดหน้าตลอดเวลา
ความไม่ประมาณเป็นคุณธรรมที่สำคัญยิ่ง กล่าวไว้ว่ากำสอนในพระพุทธศาสนาทั้งหมด เมื่อสรุปแล้วก็คือคำสอนให้เราไม่ประมาณ ดังจะเห็นได้จากปัจฉิมโอวาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ
“ดู ก่อนภิกษัณฑ์หลาย บัดนี้เราจะเตือนเธอหลาย ส่งบรรทัดหลาย เป็นของไม่เที่ยง มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงความไม่ประมาณให้ถึงพร้อมเถิด”
(มหาปิริมียพนาสูตร) ที่ ม. ๑๐๘๓/๙๕
ไม่ประมาณในรวมน
หมายความว่าอย่างไร?
คำว่า “ธรรม” ในที่นี้หมายถึง คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เวลาแปลความทานแปลว่าหตุ หมายถึงต้นเหตุ ข้อธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าก็ขอ ถ้าผู้ใดแล้วจากนั้นเป็นคำบอกเหตุทั้งสิ้นคือ บอกว่าทำเหตุอย่างนี้แล้ว จะเกิดผลอย่างนั้น หรือไม่ก็บอกว่าผลอย่างนี้เกิดมาจากเหตุอย่างนั้น เช่น ความมั่นคงมั่นเพียรเป็นเหตุให้เกิดความเจริญ ความเกียจคร้านเป็นเหตุให้เกิดความเสื่อม ดังนั้น ไม่ประมาณในธรรม จึงหมายถึง ไม่ประมาณในเหตุ ให้มีผลดี ต้นใดทำเหตุที่ดีอย่างเต็มที่ เพื่อให้บังเกิดผลดีตามมานั้นเอง