การเข้าใจทุกข์และอนัตตา มงคลชีวิต ฉบับทางก้าวหน้า หน้า 359
หน้าที่ 359 / 433

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดเกี่ยวกับทุกข์และอนัตตา โดยยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิต เช่น ความตายและการสิ้นสุดของสิ่งต่างๆ ซึ่งสะท้อนถึงความไม่เที่ยงและไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง การเข้าใจไตรลักษณ์นำไปสู่การพ้นทุกข์และการบรรลุนิพพาน ผู้ที่เข้าถึงนิพพานจะไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรมและมีความสุขอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นบรมสุขที่ไม่มีทุกข์อีกต่อไป เมื่อเห็นความจริงของชีวิตก็จะห่างไกลจากความทุกข์และไม่ตกอยู่ในสังขาร

หัวข้อประเด็น

-ทุกข์
-อนัตตา
-ไตรลักษณ์
-นิพพาน
-การเปลี่ยนแปลง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๓๙ มงคลที่ ๑๗๙ ๒. ทุกข์ ความเป็นทุกข์ ในที่นี้ไม่ได้นหมายถึงเป็นทุกข์ร้อนให้ตะด แต่หมายถึงการคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องแตกดับเพราะเมื่อมันไม่เที่ยงเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ แล้ว มันก็ต้องแตกดับ เช่น บ้านก็ต้องพัง คนเราก็ต้องตาย แห่งโลกที่เราอยู่ก็เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และฉันหนึ่งก็ต้องทำลายลง ๓. อนัตตา ความเป็นของไม่ใช่ตน ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง ไม่อุ่นในอำนาจ บังคับบัญชาไม่ได้ เช่น ตัวเราบังคับไม่ให้แก่ไม่ได้ บังคับไม่ให้ป่วยให้ไข้ไม่ได้ บ้านบังคับไม่ให้กามได้ และตัวของเราถามแยกดูกันจริง ๆ แล้วก็จะพบว่าประกอบขึ้นด้วยเลือด เนื้อ กระดูก ฯลฯ เท่านั้น หาตัวตนจริง ๆ ไม่เจอ เป็นเพียงการประชุมแห่งธาตุประกอบกันขึ้นมาชั่วคราว พอทยาทุด ต่าง ๆ แยกสลายจากกัน ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง คนทั้งโลกมองไม่เห็นไตรลักษณ์ จึ่งลุ่มหลงมัวเมายินดีร้ายหวั่นไหวในโลกธรรม ต้องตกอยู่ในห้วงทุกข์ตลอดเวลา ผู้ที่ทำพิพากษาให้แจ้งแล้ว ท่านเห็นนิพพาน ซึ้งอยู่พ้นฤกษ์ของไตรลักษณ์ เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลง พ้นการเวียนวายตายเกิด มีความสุขอย่างยิ่ง เป็นบรมสุขที่ไม่ลับทุกข์อีก จึงไม่เกิดในโลกธรรม ไม่ผุ่นมัว ไม่หลงไหล ไม่หวั่นไหวในโลกธรรม ซึ่งเป็นของไม่เที่ยงอยู่ในอธิผลของไตรลักษณ์ ท่านจะได้ความ ได้ยื่น มีคนสรรเสริญยกย่อง หรือเป็นสุข ท่านก็เลย ๆ จิตไม่ไหว ท่านจะเสื่อมลาม เสื่อมศร ถูกนินทาว่าร้าย หรือทอดทุกข์ ท่านก็เลย ๆ จิตไม่หวั่น คนทั่วไปปลาปายไป มักเกิดความทุกข์ทั้งกายทั้งใจ แต่ผู้ทำพิพานให้แจ้งแล้ว ใจจรอยู่ในพนิพพาน ไม่ว่าจะเกิดความทุกข์อะไรเนื่องมาจากสังขารนี้ก็ตาม ทุกข์นั้นจะหยุดอยู่แค่อย่า กินเข้าไปจนถึงท่าน ท่านมีจิตที่มั่นคงตลอด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More