อักษรวิธี ภาคที่ ๑ วิชาบาลีไวยากรณ์ เล่ม 3 หน้า 214
หน้าที่ 214 / 278

สรุปเนื้อหา

อักษรวิธี ภาคที่ ๑ กล่าวถึงความสำคัญของอักษรในการสื่อสาร ว่าด้วยการจัดแบ่งอักษรเป็นสองประเภท คือ สระและพยัญชนะ นอกจากนี้ยังมีการแสดงถึงการต่ออักษรและผลกระทบจากการใช้คำผิดอย่างเช่น การเปลี่ยนรูปเสียงที่ทำให้ความหมายต่างกัน นักวิชาการได้ให้ความหมายของคำว่า 'อักษร' ไว้อย่างหลากหลาย ทำให้สามารถเข้าใจความหมายที่ถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของอักษร
-การจัดแบ่งอักษร
-การต่ออักษร
-การสื่อสารผ่านภาษา
-ความหมายของคำว่า 'อักษร'

ข้อความต้นฉบับในหน้า

آักษรวิธี ภาคที่ ๑ สมญาจากิราน สมญาจากิราน บูรพาจารย์ซียี้ไว้เป็นองค์ประกอบของางหนึ่งใน มาลิโยภาคี จำนวน ๔ ภาค คือ อักษรวิธี ๑ วิธีภาค ๑ วายสัมพันธ ๑ ฉันหลักฐาน ๑ ดังได้แสดงไว้แต่ในเสมา ๑ คือ นาม-อัฝย์ลัฟท์ กล่าวเฉพาะใน ส่วนของอักษรวิธี เป็นส่วนที่กล่าวถึงอักษร จัดเป็น ๒ อย่างคือ สมญาจากิราน ว่า ด้วยอักษรที่เป็นสระ และพยัญชนะ พร้อมทั้งฐานราก ๖ สนธ์ ว่าด้วยการต่ออักษรที่อยู่คำอื่นให้เนื่องเป็นคำเดียว ๑ ซึ่งจะได้นำมแสดงทั้งสองอย่างตามลำดับไป กล่าวว่า โดยความของถ้อยคำทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นชาติใด ภาษาไหน ย่อม หมายรู้กันได้ด้วยอักษรนั้นเอง เพราะเมื่ออักษรวิบัติ คำว่า มีการผิดพลาด คำเนื้อความของถ้อยคำนั้นก็จะบกพร่อง เข้าใจได้ง่าย หรือบางทีที่กึ่งความหมาย และทำให้อื่นเข้าใจผิดไปได้ ตัวอย่างเช่น คำว่า “เวศ” ซึ่งแปลว่า “ความซั้ว, ความ ผิด” แต่เมื่อมีผู้อ่านพูดอักษรไม่ชัด โดยอ่านเป็น “เวล” ซึ่งแปลว่า “ฝัง, ตึ้ง” ผู้พูดอาจเข้าใจอีงไม่ได้ หรือคำว่า “สุกโก” แปลว่า “หัวสีดกะ” แต่ถ้าผู้ใดพูดผิด หรืแปลผิด โดยแปลว่า “สีหัวกะ” ก็จะผิดความหมายไป เพราะคำว่า “ทัวร” กับ “เท่า” การออกเสียงจะเหมือนกันทีเดียว แต่ความหมาย กลับต่างกันโดยสิ้นเชิง ดังนั้น ความเป็นผู้คลาดในอักษร จึงเป็นอุบายระอย่างยิ่ง ในการที่จะใช้ถ้อยคำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถให้ผู้อื่นเข้าใจตาม ความประสงค์ของผู้พูดได้ถูกต้อง ความหมายของคำว่า “อักษร” คำว่า “อักษร (อักษร แก่ดอกนีอ อบ, อ แปลว่า ไม่ รา เปล่า สั้น, แข็ง)” นั้น ได้มีนักวิชาการหลายแขนให้ความหมายไว้แตกต่างกันออกไป ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More