ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิทยบัญฑิต วิทยฐานะ มูลฐานข้อมูล การแบ่งประเภทของสระและพยัญชนะ
การแบ่งประเภทของสระและพยัญชนะนั้น ท่านจำแนกออกจากอักษร 44 ตัว ดังกล่าวแล้วข้างต้นนั้นเอง คำว่า "สระ" แปลว่า "เสียง" สามารถออกเสียงได้ตามลำพังตนเอง หรือมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "เสียง" เพราะเป็นอี่สายของพยัญชนะ หรือทำพยัญชนะให้ออกเสียงได้ อันออกเสียงได้จากพลังเสียงของตนเอง ตัวอย่างเช่น
๑. เช่น อ + มร = อมไร
๒. เช่น อ + า = อา
๓. เช่น อ + ก = อาก
๔. เช่น อ + ส = อส
๕. เช่น อ + พุ = อุพ
๖. เช่น อ + กา = อวก
๗. เช่น เ + สิกา = เอกา
๘. เช่น โอ + สา = โอวา
สระทั้ง ๘ ตัว คือ อา อี อุ อู เอ ไอ ซึ่งเป็นยางค์หน้าของคำนี้ ส่วนเป็นสระที่ออกเสียงได้ตามลำพังตนเอง ส่วนที่ทำพยัญชนะให้ออกเสียงนั้น ตัวอย่างเช่น
คำว่า สุขา นี้ มีเสียง อ กับ อา
คำว่า สี่นี้ มีเสียง อ กับ อี
คำว่า อุนี้ มีเสียง อ กับ อุ
คำว่า เสโย นี้ มีเสียง เอ กับ โอ
การแบ่งสระเป็น "รัสสระ-ตินะ" และ "ลุง-ครู"
อันนี้ในสระ ๔ ตัวนั้น สระ ๓ ตัว คือ อ อิ อุ จัดเป็น "รัสสระ" คือ มีเสียงสั้น เช่น มนุ, อุทิ เป็นต้น และสระอีก ๑ ตัว คือ อา อี อุด อู ๑ ตัวนี้ จัดเป็น "ทิณะ" คือ