ข้อความต้นฉบับในหน้า
อักษร(ปุ.,นุป) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักษร(เสียงและตัวหนังสือ, สระและพยัญชนะ) อักษรว่า ไม่รู้ลึกสึน อย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็ง อย่าง ๑ คือ ใช้แทนคำพูดว่า ไร ๆ ไม่รู้ลึกสึน และไม่เป็นของแข็ง ใช้แทนเสียงพูดนั้น ได้ เป็นอักษรของชาติใด ภาษใด ก็ได้ เช่น เหมาเก่าก่อนได้ ภาษานั้น วิ. นาห วะ นิ อดี. อกโม. ธร วิณเด. อ. ขี ขย วา อร. ฮิโล โป. กอสโสโล. ใช้กัน อิติโดายวามเป็นลักษณ์ปลายขาว ส. อักษร(พนานุกรม มค-ไทย โดย พัฒน์ ป. หลวงสมบูญ ฉบับรัชกาลที่ ๑๙๙ หน้า ๔)
อักษร อักษระ(ขุระ) น. ตัวหนังสือ (ป. ส.อักษร) (พนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๔๕ หน้า ๑๐๖)
ในคู่มือเล่มนี้ได้ความหมายของ “อักษร” ไว้ ๒ อย่าง ตามบรรพาจารย์ ท่านได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง “ไม่รู้ลึกสึนอย่างหนึ่ง ไม่เป็นของแข็งอย่างหนึ่ง”
คำชี้แจง ที่แปลว่า “ไม่รู้ลึกสึน” นั้น เพราะสระและพยัญชนะ ทั้ง ๒ อย่างนั้น จะใช้ดุหรือเขียนสักเท่าใด ๆ ก็ไม่หมดสิ้นไป และทีแปลว่า “ไม่เป็นของแข็ง” นั้น เพระสระและพยัญชนะนั้น ๆ ที่เป็นของชนชาติใดภาษใด ก็สามารถใช้ได้อย่างสะดวกตามบรรพาจารย์ในภาษาไทยนั้น
การแบ่งประเภทของอักษร อักษรในภาษาบาลี นี้ ท่านแบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ ๑. สระ หมายถึง เสียง ๒. พยัญชนะ หมายถึง ตัวหนังสือ สรุปไว้ว่า สระและพยัญชนะทั้ง ๒ อย่างขนนี้ รวมกันเรียกว่า “อักษร” และอักษรในภาษาบาลี มีกำหนด ๑๙ ตัว คือ อ อา อี อุ อู อึ อ เ o, ก ข ค ม ง จ ฉ ช ซ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ พ พฤกษา พ.ศ. ๒๕๔๕ หน้า ๙ (อ)