ข้อความต้นฉบับในหน้า
การฝึกจิตที่ดีต้องมีวินัย เราจะวินัยในการฝึกจิตได้ดีอย่างไร
◎ พระวีดิษฐ์ ธมฺมสุโภ
เราจะวินัยในการฝึกจิตให้ได้โดยฝึกสติให้ดี ต้องมั่นทำซ้ำๆ ทำบ่อยๆ จนเป็นนิสัย เป็นธรรมชาติโดยไม่ต้องฝืนใจ แบ่งการฝึกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ฝึกจากภายนอกเข้าสู่ภายใน (ใช้วิธีนิโก) ในทุกธีรยาบ หม่นประคองรักษาภาพดวงใสๆ องค์พระใสๆ ภาพมหาปูชนียาจารย์ ติดอยู่ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เหมือนแปะติดกาวอย่างดีไม่มีหลุด เวลามานั่งในรอบ เวลามานั่งในรอบ ใจมารู้สึกในใจง่าย ได้เร็ว และว่องไว
2. ฝึกจากภายในสู่ภายนอก (ใช้วิธีงีบ) ฝึกหยุด ฝึกนิ่ง ฝึกทำเองๆ โดยไม่คิดอะไร ฝึกหยุดเป็นสำเร็จ ตามสภาวะที่เข้าถึง เช่น เข้าถึงองค์พระ นั่งในกลางองค์พระ ส่งต่อๆ เรียวไป เข้าสภาวธรรมที่ละเอียด ลุ่มลึกไปตามลำดับความสุข ความบริสุทธิ์ จากเข้าถึงธรรมภายในขยายมาสู่ตัวเรา บุคคลรอบข้าง ขยายสันติสุขต่อๆกันไป ฝึกวินัยในการเข้าสภาวะให้เป็นนิสัย เป็นธรรมชาติครับ
◎ พระชมพ์ อานนฺโท
1. วินัยเรื่องเวลาในการนั่ง ถึงเวลาธรรมะก็ต้องตั้งใจจากเรื่องอื่นๆ
2. สังเกต และจดบันทึกผลการปฏิบัติธรรม แล้วนำมาทบทวนบ่อยๆ
3. วินัยในการรักษาอารมณ์ รักษาใจ สำรวมอินทรีย์ ตรึกธรรมะ ไม่ให้ไปติดเรื่องหยาบที่จิดใจออกนอกตัว
4. วินัยเรื่องกิจในแต่ละวันต้องปรับให้ลงตัว เช่น การตื่น การจำวัตร
5. ประมาณในการขขัน
6. วินัยในการบริหารขันธ์ หมุนออกกำลังกล้าม ยืนเสน่อยู่เสมอ
7. หมื่นอธิษฐานจิตตอดย้ำในการทำวิชชาอยู่เสมอ ให้เป็นเป้าหมายหลักในการดำรงชีวิต
◎ พระมหาไพโรจน์ ปญฺญาพโล
เราจะมีวินัยในการฝึกจิตให้ดี ต้องมั่นเตือนตัวเองเสมอ ว่าไม่มีอะไรสมบูรณ์พร้อม ต้องเห็นคุณค่าการฝึก และคุณค่าของเวลาว่าเรากำลังหมดเวลาไปทุกวัน เวลาบนไม่เคยรอใคร ถ้าเราฝึกเอาไว้วันนี้ก็จะดีหรือรอให้พร้อมก่อนเราก็จะไม่ได้มา และจะเสียเวลาของแต่ละวันไปโดยเปล่าประโยชน์ ต้องคิดเสมอว่าเราไม่ทำไม่ได้ ใครจะยังไงก็ตามแต่ เราต้องทำ เรามีเวลาไม่มาก ทำให้เลิ่นๆ สบายๆ ในทุกธีรยาบ นิกได้ต่อไหนก็ทำตอน