การปล่อยวางและการฝึกใจในพุทธศาสนา “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 66
หน้าที่ 66 / 272

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการไม่ยึดติดกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเพื่อรักษาความสงบในใจ โดยเสนอวิธีการฝึกปฏิบัติธรรมเพื่อให้ใจอยู่กับปัจจุบัน และไม่กระทบจากความไม่บริสุทธิ์ทั้งภายนอกและภายใน. สิ่งที่สำคัญคือการไม่ให้ใจไปติดกับรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส รวมถึงไม่ให้ใจไปยึดติดกับคนหรืออดีตที่จะทำให้เราเศร้าหมอง. เป็นการแนะนำให้หันหัวใจกลับมาสู่การพัฒนาตนเองและการสร้างบารมีโดยเป็นที่พึ่งของศูนย์กลางกายอย่างแท้จริง.

หัวข้อประเด็น

-การปล่อยวาง
-การฝึกใจ
-ความบริสุทธิ์
-การปฏิบัติธรรม
-การไม่ยึดติด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เราไม่ควรเอาใจของเราไปดิ้นกับสิ่งที่นอกเหนือจากพระรัตนตรัย ครูอาจารย์ มโนปณิธาน เป้าหมายการสร้างบารมี และหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรือแม้กระทั่งงานหยาบที่ได้รับมอบหมายมานั้นเมื่อลงเวลาปล่อยวางก็ต้องปล่อยวางให้ได้ ไม่ควรเอาใจไปยึดติดด้วยเช่นกัน ผลการปฏิบัติธรรมจะขึ้นอยู่ได้กาย วาจา ใจของเราสุขสบาย ดังนั้นเราไม่ควรให้ใจไปกะเกะเกี่ยวกับความไม่บริสุทธิ์ ความไม่บริสุทธิ์ก็คือสิ่งรอบตัวทั้งหมด คน สัตว์ สิ่งของ สิ่งแวดล้อม แม้กระทั่งร่างกายของเราก็ไม่บริสุทธิ์จึงต้องเน้นเอาปิ๋วใจไป จนไม่ควรยึดติด สิ่งที่บริสุทธิ์มาที่เดียวคือศูนย์กลางกาย เป็นที่เกี่ยวอย่างยิ่ง โดยต้องฝึกหยุดฝึกนั่งให้ใจนิ่งไม่หวั่นไหว ไม่กระเพื่อมต่อสิ่งที่มากระทบ ไม่ว่าจะเป็นความคิด คำพูด การกระทำที่ไม่ดีจากภายนอกหรือภายในออกมา มาดึงใจออกจากธรรมะ ออกจากศูนย์กลางกายได้ พระพิศาล สุวิโณ 1. ไม่ควรเอาใจของเราไปติดกับรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่เราพอใจ ที่จะทำให้เลสของเราเพี้ยนมา ทำให้ไม่หยุด 2. ไม่ควรเอาใจไปติดกับคน สัตว์ สิ่งของ เพราะจะทำให้ใจเรามีความยินดีร้ายซึ่งพระเดชพระคุณหลวงปู่ท่านกล่าวว่า“ความยินดีนี้ร้ายนี้เองที่ทำให้ใจเศร้าหมอง” 3. ไม่ควรนำใจไปยึดติดกับอดีตที่ผ่านมา ไม้คิดถึงอนาคตที่ยังไม่แน่นอน เพราะ“อดีติพึงดีดีทั้งในอนาคต มันเป็นเรื่องที่ใจดุตๆ ไม่แน่นอน” ใจจะใดไม่งงครับ พระมหาพงศ์ศักดิ์ จานโย 1. ติดในเรื่องคน สัตว์ สิ่งของ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของ“คน” นั้น แบ่งออกเป็นคนที่พอใจ (เทศตรงขาม) และคนที่ไม่พอใจ (ศัตรู หรือผู้ที่เคยสร้างความเจ็บช้ามใจให้เรา) 2. ติดในเรื่องราวที่ผ่านมาในอดีต ไม่ว่าจะเป็นอดีที่นำพอใจหรือไม่พอใจ หรือไม่ก็เลยมาไม่ถึงในอนาคต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More