ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติของร่างกายและคัลย์กรรม “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 222
หน้าที่ 222 / 272

สรุปเนื้อหา

ในยุคที่คัลย์กรรมตกแต่งกำลังรุ่งเรือง นักเขียนกล่าวถึงความจริงที่ว่าแม้จะทำคัลย์กรรม แต่ผม ขน เล็บ ฟัน และหนัง ยังคงเป็นปฏิกูล หากไม่ดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย ดังนั้น การมองเห็นสิ่งดังกล่าวจึงขึ้นอยู่กับวิธีคิดและการใช้ธรรมะในการพิจารณา ความจริงเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลนั้นไม่เคยเปลี่ยนแปลง แม้เวลาจะผ่านไปหรือจะอยู่ในยุคที่คัลย์กรรมเจริญก็ตาม สิ่งที่ควรทำคือการปล่อยวางและหันมาดูธรรมภายในเพื่อที่จะเข้าใจถึงความจริงของชีวิต

หัวข้อประเด็น

-คัลย์กรรมและการตกแต่ง
-สิ่งปฏิกูลในร่างกาย
-ความจริงทางธรรม
-การพิจารณาผ่านธรรมะ
-การดูแลรักษาความสะอาด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในยุคที่คัลย์กรรมตกแต่งกำลังเจริญรุ่งเรือง ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ยังกงเป็นปฏิกูลไหม สิริวรรณ ภูประเสริฐ แม่ไปทำคัลย์กรรม ผม ขน เล็บ ฟัน หนังยังคงเป็นปฏิกูล เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสังธรรมความจริงที่อยู่ในตัวเรา แม้จะไปตกแต่งบ่งอำพรางได้แค่เปลือกนอก การทำคัลย์กรรมก็เพื่อให้สรีระร่างกายดูดีขึ้นเท่านั้น แต่ความจริงถ้าเราไม่ดูแลทำความสะอาดร่างกายสิ่งปฏิกูลก็จะแขยงออกจากวาระเป็นปกติ คงเร่งต้องส่องกระจกบ่อยๆ เพื่อว่า จะแผ่ฝี ขีด ขบก็ ติดอยู่หรือไม่ สิ่งปฏิกูลที่ขอออกมาจากส่วนต่างๆ ของร่างกายจึงเรียกว่า “ขี้” เป็นตัวต้นเหตุเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ ถ้าเราพิจารณาถึงความจริงงั้นก็ดีจะปล่อยวางและปลดได้ เมื่อวงภายนอกได้ใจก็จะน้อมนำเข้าสู่ธรรมภายในได้ง่าย ดร.วิระ สุภะ ไม่ว่าคุ้มมัยใดก็เป็นปฏิกูล ทั้งนี้อยู่ที่ใช้อะไรมองและมองเมื่อใด ถ้ามองด้วยตาอาจเผลอเห็นเป็นสิ่งสวยงาม ถ้ามองด้วยใจผ่านการทำหยุดนิ่งก็จะเห็นเป็นปฏิกูล อย่างไรก็ดีมองด้วยตาหรือมองด้วยใจก็ต้องมองเมื่อได้ปฏิบัติธรรม และเห็นโทษภัยของสิ่งนั้น อานนท์ บำรุงศรี อันผมขน เล็บฟันหนัง สมัยไหน ปฏิกูล ไม่เปลี่ยนไป ตาม พ.ศ. คัลย์กรรม เจริญในยุคไหนก็ ไม่พันกอ สระเอา แก่ทุกคน ทั้งขึ้น ขี้มุก และขี้ฟัน ขี้ใคลมัน เคลือบผิว รุขขน ล้วงขี้ข่าย หน้าเบา มาบาปปน มีทุกคน ไม่มีใคร ไร้สรราย คนไม่แก่ อมตะ นิรันดรคาถา ยมบาล มาดอนหมด อายุขัย แบบเอวลิส มิตรชัย ดาราไทย เพราะตายไว ไม่ได้แก่ ให้คนดู พูทรองค์ สอนไว้ เรื่องชั้นหัว ทั้งกาย สายได้ ไม่สายหร มีเน่าเหม็น เลือดทุกวัน ตามคำครู ความจริงอยู่ คู่โลก ตลอดกาล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More