การพิจารณาโทษภัยของร่างกาย “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 187
หน้าที่ 187 / 272

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการพิจารณาร่างกายของเราและของผู้อื่น โดยเน้นว่าเป็นสิ่งที่เน่าเสียและมีโทษภัย การพิจารณานี้ช่วยให้เราคลายความยึดมั่นในรูปแบบต่างๆ ที่แสดงออกมา แม้ว่าร่างกายจะมีรูปลักษณ์ที่สวยงาม แต่ท้ายที่สุดก็จะต้องเผชิญกับความเน่าเสีย ซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาของชีวิตที่ทุกคนต้องยอมรับ.

หัวข้อประเด็น

- พระครูณ ญาณญฺโญ
- ปฏิกูลและการพิจารณา
- ความยึดมั่นในรูปสมมติ
- โทษภัยของร่างกาย
- สงขารเป็นของเน่าเหม็น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระครูณ ญาณญฺโญ คำว่าปฏิกูลแปลว่าสิ่งไม้งาม ของเน่าเน่าเสีย นำร่างก็ต้องพิจารณาให้เห็นโทษ ภัย จึงจะเกิดความเบื่อหน่ายคลายกำหนด คลายความยึดมั่นถือมั่น แต่ถ้าไม่พิจารณาให้ ดีแล้วก็จะหลงในสงขารอยู่ เช่น รูปลสวย รูปหล่อ เป็นต้น ถ้าพิจารณาให้ดี ถ้าคนเราไม่มี ผิวหนังห่อหุ้มอยู่ ถึงแม้จะสวยขนาดไหนคงไม่ใครอยากจะได้ จะเห็นได้จากคนที่ถูกไฟครอก ทั้งตัว เช่น รถแก้ระเบิด จากคนสวยก็กลายเป็นอัปลักษณ์สุดๆ เพราะฉะนั้นเราต้องมอง สงขรให้สุด มองให้ดีที่สุด ทั้งตัวเราเองและของทุกๆ คนบนโลกนี้ พระอรรถกถา ภทฺธมฺโม สงขาร่างกายเป็นของเน่าเหม็น ทั้งร่างกายของเราเองและร่างกายของผู้อื่น ทั้งสงขาร ที่มีวิญญาณครองและไม่มีวิญญาณครอง ทั้งคน สัตว์ พืช อาหาร สุดท้ายก็ต้องลงไปอยู่ที่กอง ขยะ หรือประดุจซากศพที่เน่าเหม็น ที่ของหลุ่มฝังเอาไว้ ร่างกายของคนเรา ลองไม่ล้างหน้า เปรอะฟัน อาบน้ำ สระผม สักหลายๆ วัน เป็นสัปดาห์ เป็นเดือน หรือเป็นปี จะเห็นได้ชัดเจนเลยครับว่า "สงขรร่างกายเป็นปฏิกูล" แม้ยังมีชีวิตก็เหมือนดูอาจจอจะ ปลาสะละเคลื่อนที่ได้ ตัวเราเหมือนอย่างไร คนอื่นก็เหมือน กันอย่างนั้นครับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More