การสังเกตตนเองในการปฏิบัติธรรม “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 25
หน้าที่ 25 / 272

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้ได้พูดถึงกระบวนการสังเกตตนเองในการปฏิบัติธรรม เริ่มจากการปรับใจให้สงบ โดยการคิดถึงสิ่งสบายๆ หรือนำเสียงนำนั่งช่วยเพื่อให้จิตใจนิ่งและเบาในขณะนั่งธรรมะ การสังเกตในระหว่างการปฏิบัติจะช่วยให้เราทราบถึงอุปสรรคที่เกิดขึ้นและทำให้เราปรับปรุงและพัฒนาตนเองต่อไป การไตรตรองในสิ่งที่ทำจะช่วยให้รู้เหตุและผลที่ตามมาเพื่อการปรับปรุงขั้นตอนให้ดีขึ้น ทั้งนี้การสังเกตและปรับพฤติกรรมขณะนั่งจะช่วยให้การปฏิบัติธรรมก้าวหน้าอย่างมีคุณภาพ หากผู้ปฏิบัติไม่ส่งสังเกตหรือปฏิบัติเพียงแค่ครบชั่วโมง อาจพบว่าผลการปฏิบัติไม่ก้าวหน้า ดังนั้นการสะท้อนและสังเกตตัวเองเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาธรรมะให้เกิดประสิทธิภาพ

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-การสังเกตตนเอง
-การปรับใจ
-การนั่งธรรมะ
-การพัฒนาจิตใจ
-การสังเกตผลการปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

23 สิงหาคม พ.ศ. 2556 03 “- ถ้ามีอารมณ์ขุ่นมัวก็จะนึกถึงเรื่องสบายๆ หรือ ฟังไฟล์เสียงนำนั่งของหลวงพ่อไปเรื่อยๆ - ตอนนี้ใจเราออกไปอยู่นอกตัวมากน้อยเพียงใด - ตอนนี้ใจเรานิ่ง เบา หรือใจแกว่งกระเพ่อม 3. จากนี้ก็จะวางใจโดยจะสังเกตตัวเองว่ารอบนี้เราจะวางใจอย่างไร นิ่งๆ เฉยๆ สบายๆ แต่เบาบ้าง ที่ศูนย์กลางกาย หรือมีมโนติอตนเองพระ ดงแก้ เป็นต้น และก็จะวางใจอย่างนั้นไปเรื่อยๆ 4. เมื่อหมดรอบนั่งก็จะสำรวจตนเองและบันทึกผลการปฏิบัติธรรมว่าเป็นอย่างไร ติดขัดและอุปสรรคตรงไหนบ้าง เพื่อจะได้ปรับปรุงและพัฒนาต่อไป 5. สังเกตว่ารอบนี้ที่ดีที่สุด เราปราบาย ปรับท่านั่ง ปรับใจและวางใจอย่างไร นอกกรอบวางใจอย่างไรค่ะ การสังเกตเล็กๆ น้อยๆ นี้งทำให้เกิดผลการปฏิบัติธรรมดีและก้าวหน้าขึ้น แม้จะที่ละเล็กละน้อยก็ตาม แต่ถ้าช่วงใดที่ลูกไม่ได้ส่งสังเกต สักแต่ว่านั่งให้ครบชั่วโมงไป ก็จะพบว่าการปฏิบัติธรรมช่วงนั้นจะไม่ค่อยก้าวหน้า มีแต่ลบทิ้งหรือดึง เพราะไม่ได้แก้ไขปรับปรุงและพัฒนาค่ะ ดังนั้นการหมุนสังเกตจึงมีความสำคัญมากในการทำธรรมะให้ก้าวหน้า จนไปสู่ฝันฝนที่ฝันใสนได้ค่ะ ○ รัชนีก จะแง่ใส 'สงกต' คือการไตรตรองดู พิจารณาว่าการประกอบเหตุนั้นนี้แล้วจะเกิดผลอย่างไร หรือพิจารณาดูว่าผลอย่างนี้เกิดจากเหตุอะไร เมื่อมั่นใจไตรตรองพิจารณาก็จะรู้เหตุและผลที่จะเกิดตามมาได้ ทำให้เราสามารถแก้ไข ปรับปรุง หรือประกอบเหตุนี้ให้ดีขึ้นไป เพื่อความพอดีและเหมาะสมกับตัวและใจของเรา เช่น สังเกตว่ามือกินอาหาร ปริมาณเท่านี้ พอสมควรแล้ววงหลับแสดงว่ากินอาหารปริมาณมากไป ก็จองปรับหรือสังเกตว่าช่วงนี้กินสมริทิหลับ ก็ไปสังเกตว่ามีอะไร กินก็อิ่ม นอนก็อิ่ม อาจจะพบว่าเกิดจากเส้นติด ก็ไปปรับแก้ไขต่อไปวาทำอย่างไรจึงจะหาย นิ่งไม่หลับเป็นต้น เราก็ต้องสังเกตทั้งในรอบและนอกกรอบ เพราะจะนั่งธรรมะให้ดีนั้นต้องฝึกทำให้ได้ตลอดเวลา โดยการสังเกตหลักๆ คือ สังเกตในเรื่องการปรับกายและเรื่องของการปรับใจเมื่ออายสบาย ใจสงบ ธรรมะก็จะก้าวหน้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More