ร่างกายเป็นรังแห่งโรค: การดูแลรักษาสุขภาพที่เหมาะสม “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 240
หน้าที่ 240 / 272

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการที่ร่างกายของเราเป็นรังแห่งโรคจริงๆ โดยแบ่งออกเป็นโรคประจำและโรครุก และเน้นถึงความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพให้เหมาะสม ไม่ยึดติดกับร่างกาย ชี้ให้เห็นว่าร่างกายเป็นของชั่วคราวที่ควรใช้ในการสร้างบารมีและทำความดี เพื่อหลีกเลี่ยงการสะสมโรคต่างๆ และการยึดติดกับความงามภายนอก สรุปว่าเราควรเตือนสติตนเองเพื่อไม่ให้มีทุกข์จากการยึดติดนี้.

หัวข้อประเด็น

- โรคประจำ
- โรครุก
- การดูแลรักษาร่างกาย
- ความสำคัญของบารมี
- การหลีกเลี่ยงการยึดติด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ร่างกายของเราเป็นรังแห่งโรคจริงๆหรือ พระมหาสุทธิ์ ปุณฺญาณโม ร่างกายของเราเป็นรังแห่งโรคจริงๆ เพราะโรค 2 ประการ 1. โรคประจำ เกิดขึ้นเป็นปกติได้แก่ ปวดเมื่อยร่างกาย หิวอาหารและน้ำ ควรมง ปวดอุจจาระ เป็นต้น 2. โรครุก เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวได้แก่โรคหวัด โรคผิวหนัง โรคติดต่อ โรคที่เกิดจาก อุบัติเหตุ เป็นต้น เมื่อร่างกายของเราเป็นรังแห่งโรค เราจึงต้องดูแลรักษาให้ดี แต่ก็ให้เหมาะสมควร อย่าไปยึดมั่นถือนัน ให้เตือนสติเสมอว่าร่างกายนี้เป็นรังแห่งโรค เป็นแค่ของใช้ชั่วคราว สักวันก็ต้องแตกสลาย ในขณะที่เรายังมีชีวิตยังแข็งแรง เราจะใช้ร่างกายนี้สร้างบารมีให้ มากที่สุด พระมหาพรหมพิณิจ โกวิทธโม จริงเสมอครับหลวงพ่อ อุปมาร่างกายเราคล้ายดั่งห้องน้ำ ก็เป็นห้องน้ำที่ใช้งาน ตลอด 24 น. ไม่มีหยุดพัก ตั้งแต่เราเกิดมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ ยังไม่เล lageraเลย แม้จะล้างก็ ล้างได้แค่บิณฑ์ๆ เพียงชั่วคราว แล้วก็สะสมสิ่งปฏิกูลต่อไป ดังนั้นจึงเต็มไปด้วยสิ่งหมักหมม เชื่อโรคต่างๆ นานา ร่างกายจึงเป็นที่เก็บกัก ที่เกิด ที่อยู่ ที่ทำงาน และเป็นสถานของโรค เรียกได้ว่าเป็น “โลกของเชื้อโรค” ว่า ได้ เพราะฉะนั้น เราไม่ควรไปยึดติดร่างกายทั้งของเราและผู้อื่นที่เป็นรังแห่งโรค ถ้าไปหา มา เพิ่มก็เท่ากับหาโรคทั้งรังเอาไว้จงดตน แล้วจะพันทุกข์ได้อย่างไร รัง ใดที่ร่วมโรค ร้ายแรง แก่ ของแสนเปียกแห้ง หมกไว้ โรค มากรุมแสง เจ็บป่วย คือกาย เราท่านไซร้ อย่าได้อ่อนใจ เรา ท่านเห็นโทษนี้ จิ๊ดดี อย่า ยึดติดสวยหล่อมารังร้าย รังร้าย ได้ สร้างความดี อย่าได้ผิดผ่อน ประมาณ กลับใจได้ เริ่มสร้างบารมี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More