ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระธนณตร ธนณตุตโต สังเกต คือการมีสติพิจารณาและจดจารึกวิธีการวางใจของเราตั้งแต่เรื่องหยาบๆ จนไปถึงเรื่องละเอียดยิบในทุกๆ รอบที่นั่ง โดยลูกจะใช้เครื่องมือวัดด่านนี้ก็คือความสบาย และความสุขที่เกิดขึ้น เมื่อหัวใจเข้าใจและรู้วิธีการว่า ทำอย่างไรใจเราถึงมีความสบายและมีความสุขในการนั่งสมาธิอีกจะเข้าไปข้างใน “ใจ” ของเราได้อย่างง่ายๆ หรือแม้บางครั้งเผลอทำผิดวิธีเราก็จะรู้วิธีในการปรับใจให้ถูกต้องหรือถูกส่วนได้
สำหรับวิธีการ ในช่วงฝึกนั่งใหม่ๆ หรือแม้ในปัจจุบัน ลูกจะให้เวลาสักการสังเกตอารมณ์และใจของตัวเองมากๆ เพราะก่อนหน้าที่เราจะนั่งสมาธิในแต่ละรอบในแต่ละช่วง เราอาจเผลอรับเรื่องราวต่างๆ เข้ามาในใจมากน้อยไม่เท่ากัน ดังนั้นใจของเราจึงอาจจะแทรกสายไม่คงที่ เพราะฉะนั้นสิ่งแรกที่จะทำคือจะให้เวลากับการสังเกตตั้งแต่เรื่องหยาบๆ (คือสังเกตตั้งแต่เรื่องนั่งกัน การวางมือ วางเท้า การตั้งวางทำอย่างไรให้เอาหายของเรา รู้สบายที่สุด) เมื่อกายสบายก็จะเริ่มมาสังเกตเรื่องละเอียดยิบ(นั่นคือ การสังเกตวิธีการวางใจในแต่ละรอบในแต่ละช่วงของตัวเราเองว่า ช่วงนี้ รอบนี้ อารมณ์แบบนี้ เราวางใจแบบไหน ตรงไหน ตำแหน่งใด อยู่ในตัวหรืออยู่นอกตัว แล้วทำให้เราได้อารมณ์สบาย รู้สึกเพลิน และมีความสุขในการนั่งที่สุด) เมื่อไรต่างที่เราโฟกัสบ่อยๆ จนเราเข้าใจตัวเราเองจนจับหลักในการวางใจได้มากขึ้น เมื่อรู้อะไรลำบากก็จะเป็นอุปกรภะต่อการประคองธรรมะและรักษาธรรมะให้กับตัวเราได้ในอนาคตครับ
ยุวามาลย์ เหลือวัตถุวังไว คำว่า สังเกต คือทุกครั้งที่เราปฏิบัติธรรมเราต้องดูว่าเรานั่งแบบไหน อารมณ์ไหน วางใจแบบใดแล้วเรารู้สึกมีความสุข มีผลการปฏิบัติธรรมก้าวหน้าขึ้น ก็ให้เรานำสิ่งเหล่านี้มาใช้ในการปฏิบัติธรรมในรอบต่อไป แต่ถ้าร้อนที่เรานั่งแล้วไม่มีความสุข ก็ให้เรารับแก้ไขวิธีินั่ง วิธีวางใจในรอบต่อไปเช่นกัน
ฉะนั้นในการปฏิบัติธรรมทุกอรบให้เราจดบันทึกผลการปฏิบัติธรรมทุกครั้ง เพื่อมานำปรับใช้ในการปฏิบัติธรรมรอบถัดไป แล้วเราจะมีผลการปฏิบัติธรรมที่ก้าวหน้าขึ้นและดีขึ้นเรื่อยๆ