การฝึกสมาธิและการรักษาสติที่ศูนย์กลางกาย “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 211
หน้าที่ 211 / 272

สรุปเนื้อหา

การฝึกสมาธิที่ศูนย์กลางกายเป็นสิ่งที่จำเป็นในการรักษาสติและไม่หลงเข้าไปในความคิดที่ไม่ดี. หากใจไม่มั่นคงที่ศูนย์กลางกาย จะส่งผลให้สติไม่สมบูรณ์ และทำให้เกิดความคิดที่นึกถึงความปฏิกูลของร่างกายทั้งของตัวเองและของคนอื่น. การประคองใจไว้ที่ศูนย์กลางและการตั้งสมาธิจะทำให้เห็นความจริงของร่างกายาว่าเป็นปฏิกูลเหมือนกันทั้งสิ้น. การเข้าถึงพระธรรมกายจะช่วยให้มองโลกตามความเป็นจริง นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาเรื่องนี้ทุกวันในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างความเข้มแข็งในจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-ความสำคัญของศูนย์กลางกาย
-การรักษาสติ
-การเห็นความเป็นจริงของร่างกาย
-การเข้าถึงพระธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระธsirะ อดทนฺโต ต้องฝึกสมาธิโดยมั่นใจประคองใจไว้ที่ศูนย์กลางกายให้ได้ตลอดทั้งวันครับ ถ้าไม่มั่นใจประคองใจ ฝึกสมาธิในทุกอริยาบถแล้วผมคิดว่าควรยากมากๆ หรือคงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะทำให้เราไม่มกคิว่า "ส่งขวางร่างกายทั้งของเราและของคนนอื่นเป็นปฏิกูลจริงๆ" เพราะ หากใจไม่อยู่ที่ศูนย์กลางกาย ก็ทำให้สติของเราไม่สมบูรณ์. เมื่อเป็นอย่างนั้นใจจะออกนอกตัวไปอยูู่กับคน สัตว์ สิ่งของ โดยเฉพาะเมื่อไปอยู่องคนแล้วโอกาสที่จะผลอดปล่อยใจ ไปติดในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมะรรมของคนอื่นก็จะเป็นไปได้สูง ซึ่งจะทำให้เราสม คิดไปว่า "ส่งขวางร่างกายทั้งของเราและของคนอื่นเป็นปฏิกูลจริงๆ" ดังนั้นจึงเป็นต้องมั่นประคองใจไว้ในตัวอยู่เสมอๆ ด้วยการนิคดวงใส หรือองค์พระ หรือพระพระคุณหลวงปู่ หรือแตะใจนิ่งๆ ไว้ที่กลางท้องเอาไว้เสมอๆ แมังไม่ได้ทั้งวัน ก็สามารถทำให้เราสติอยู่กับตัว และไม่มกคิดว่า "ส่งขวางร่างกายทั้งของเราและของคนอื่นเป็นปฏิกูลจริงๆ" พระครูสิปป์ ทิตตสุปฺโป การที่เราไม่มกคิดนั้นเป็นของเราจะต้องจดจศูนย์กลางกายให้ได้ตลอดเวลา แต่ในสภาพความเป็นจริงถ้าเรายังทำไม่ได้ เมื่อใดที่เราเห็นส่งขวางของเราและคนนอื่นเป็นสิ่งสวยงามและจิตของเราเกิดความกำหนดนิยดี เมื่อฉนั้นเราก็ต้องยึดถืออสนิยมทันที คือยิ่งทำร่างของสรรพสัตว์เป็นสิ่งน่าเกลียด และเมื่อใจของราคสยามความกำหนดนิยดีในส่งขวางแล้ว ใจเราจะนิ่งและจดศูนย์กลางกายได้ง่ายขึ้น พระมหาดุตรฺจ ตะทมฺโม หมันพิจารณาถึงความจริงข้อนี้ให้ได้ทุกวันในทุกภารกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่เราทำความสะอาดร่างกาย ขับถ่าย จะได้เห็นตามความเป็นจริงว่าร่างกายของเราและของมนุษย์ทุกคนส่วนเป็นปฏิกูลเหมือนกันทั้งหมดทั้งสิ้น อีกทั้งต้องเอาใจจดนี้ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 หยุดนิ่งให้เข้าสู่พระธรรมกายภายในให้ได้ ความรู้แจ้งจากการเข้าถึงพระธรรมกายจะทำให้เรามองโลกตามความเป็นจริงได้ตลอดเวลา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More