การสังเกตเพื่อพัฒนาการปฏิบัติธรรม “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 26
หน้าที่ 26 / 272

สรุปเนื้อหา

การหมักสังเกตช่วยให้เราสามารถระบุเหตุของการบกพร่องและช่องทางแห่งความสำเร็จในปฏิบัติธรรม การสังเกตเกี่ยวกับร่างกาย เช่น ท่านั่ง การกิน การนอน และการออกกำลังกาย มีความสำคัญในการสร้างความสุขและสุขภาพที่ดี นอกจากนี้ยังควรสังเกตการปรับใจ ว่ามีความสงบหรือไม่ การทำซ้ำและสังเกตเฉพาะจุดจะทำให้การปฏิบัติธรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น การจดผลการปฏิบัติทุกวันจะช่วยให้เราจัดเก็บข้อมูลและรู้วิธีการปรับปรุงตนเองในเรื่องต่างๆ ที่สำคัญ เช่น การฟัง การบริหารเวลา ความเรียบร้อยของข้าวของ และเป้าหมายในชีวิตที่เกี่ยวกับการศึกษาธรรมกาย

หัวข้อประเด็น

-สังเกตกาย
-การปรับใจ
-การบริหารเวลา
-การจัดเก็บของ
-เป้าหมายชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การหมักสังเกตจะพบเหตุของการบกพร่องและช่องทางแห่งความสำเร็จ คำว่า "สังเกต" นี้คืออะไร เราจะมีผลการปฏิบัติธรรมที่ดีได้นั้นเราต้องสังเกตอย่างไร 1. สังเกตเรื่องเกี่ยวกับกาย ในรอบ สังเกตตั้งแต่อตสนะที่นั่งว่าเหมาะสมกับสีรรถ ของเราไหม ท่านั่งที่ถูกต้องและสายของเราเป็นอย่างไร การกลับท่าดีไหม ปรับการผ่อนคลายของร่างกายทุกๆ ส่วน ถ้ากายสบาย จะมีโปร่งโล่ง เบา นอนรอบในร่างกายจะ สบายได้เกิดจากการสังเกตร่างกายออก คือสังเกตในเรื่องการกิน กินพอดีเหมาะสมกับสุขภาพ สังเกตในเรื่องการนอนแค่ไหนพอด้วยของเรา การดื่มน้ำ การขับถ่าย การออกกำลังกายแบบไหน เวลาใด ปริมาณเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมกับร่างกายของเรา 2. สังเกตในเรื่องของการปรับใจ ในรอบ สังเกตว่าเราถวใจอย่างไรแล้วใจจะนั่งได้เร็ว เช่น นึกมิฏฐับปล่อยวาง ฯลฯ นึกถึงบุคคล หรือถึงความตาย เราทำอย่างไรแล้วนั่งๆ ก็ทำซ้ำๆ บ่อยๆ แต่การสังเกตจากใจต้องอาศัยการสังเกตและปรับบ่อยๆ เพราะใจของเรามักเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่น ใจละเอียดขึ้นการวางใจก็นวมขึ้น ให้ทีมนิยมไปเป็นต้น นอกจาก สังเกตการติรกรรมของเราว่าทำได้มากน้อยแค่ไหน ได้มากเพราะอะไร ได้เปลราะอะไร ต่อเนื่องเพราะอะไร สังเกตจากการจดผลการปฏิบัติธรรมทุกวัน ซึ่งการสังเกตต่อไปนี้จะช่วยส่งเสริมใน การปฏิบัติธรรได้ 1. สังเกตว่าเราสำรอมอิทธิฤทธิ์ ฯ ถู ขูง ลื่น กาย ใจอยู่ไหม เช่น วันนี้สังเกตว่าไป ฟังเรื่องนี้มาแล้วไงพอชั้น แสดงว่าไม่สำรวมในการฟัง ก็ต้องปรับ เป็นต้น 2. สังเกตการบริหารเวลาของเราในแต่ละวันว่าทำได้ลงตัวไหม ถ้าไม่ลงตัวจะทำให้ใจเรานั่งสมาธิความกังวล ฟุ้งไปในเรื่องที่งทำไมไม่เสร็จ สังเกตต่อว่าไม่ลงตัวเพราะอะไร 3. สังเกตการจัดเก็บข้าวของ เครื่องใช้ส่วนตัวว่าสะอาด เรียบร้อย พร้อมใช้งไหม ทำให้ใจเป็นระเบียบและตั้งจังหวะได้ 4. สังเกตเป้าหมายชีวิตในการที่จะศึกษาธรรมกายของเรานั้นงนขึ้นไหม การปฏิบัติทั้งในรอบและนอกรอบจะก็อุ่นต่อกัน แยกออกจากกันไม่ได้ ถ้าในรอบ นิ่งดี ก็จะส่งผลให้นอนรอบทำสิ่งต่างๆ ได้พอเหมาะพอดีขึ้นได้เป็นอัตโนมัติ ถ้าปรับนอนรอบ ได้ดี ในรอบก็หยุดนิ่งได้เร็วและนิ่งแน่นค่ะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More