การสังเกตในสมาธิ “อ๊อกถ่อกว่า เหน่อเกอสิยา“  ต้องเปิดอ่าน ถึงจะรู้ หน้า 27
หน้าที่ 27 / 272

สรุปเนื้อหา

การสังเกตเป็นการใส่ใจต่อตนเองในขณะนั่งสมาธิ สังเกตจากการปรับท่านั่งไปจนถึงการวางใจอย่างไรเมื่อมีความสุข จะช่วยให้การนั่งสมาธิได้นานขึ้น การบันทึกผลการปฏิบัติธรรม และต่อยอดการสังเกตก็มีความสำคัญ นอกจากนี้ควรรักษาสมาธิในกิจกรรมประจำวัน และสำรวจอารมณ์เมื่อเจอสิ่งที่ไม่ชอบ เพื่อให้มีใจจดจ่ออยู่กับธรรมะอย่างต่อเนื่อง

หัวข้อประเด็น

-การสังเกต
-สมาธิ
-การฝึกจิต
-การปฏิบัติธรรม
-การบันทึกผล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พวงชึมพู แก้วหอม “สังเกต” คือการใส่ใจไม่ปล่อยผ่าน เราจะต้องสังเกตทั้งหยาบและละเอียด ควบคู่กันไป ในรอบ นั่งสมาธิให้เราสังเกตตั้งแต่การปรับท่านั่ง ผ่อนคลายสบาย ๆ การหลับตา ให้หลับตาอ่อนลูกพอสงบ เมื่อร่างการปรับได้แล้ว ก็มา สังเกตที่การวางใจว่าเราวางใจ อย่างไรเราถึงนั่งแล้วมีความสุข นั่งได้ นาน นั่งได้นาน โดยใจไม่เคลื่อนไหวอื่นเลย แต่ถ้าเรา มีฟึ้ง แสดงว่าเราตื่นนกรอบน้อย หรือเอาใจไปให้ความสำคัญเรื่องอื่นมากไป ง่วงหลับ สังเกตได้ว่าเรามีความอยากได้และความตั้งใจมากเกินไป เราต้อง ทำเฉย ๆ ในทุกประสบการณ์ และให้เราจดบันทึกผลการปฏิบัติธรรมทุกวัน และสังเกตว่า วันไหนที่เราสบายใจและปรับใจได้ดี ก็รักษาแบบนี้ไว้ให้ได้ เพื่อจะได้ต่อ ยอดในการนั่งรอบต่อไป นอกรอบ ให้เรารักษารามสมาธิให้ได้อย่างต่อเนื่อง ให้เราสังเกตว่าในช่วงระหว่าง วัน ไม่ว่าจะทำกิจกรรมอะไรก็ตาม เราจดจ่ออยู่กับธรรมะ ดวงใส ๆ หรือองค์พระใส ได้ ตลอดต่อเนื่องหรือเปล่า แล้วสิ่งที่ทำให้เราเคลื่อนไหวออกจากความใส หรือองค์พระใส ก็ให้เราสำรวจอินทรีย 6 ตา หู จุ กลิ่น กาย ใจ เมื่อสิ่งที่เราไม่ชอบเข้ามากระทบก็ให้เรา รับผิดอารมณ์และความรู้สึกนั้นให้ได้เร็ว ๆ ให้เรามีใจจดจ่ออยู่กับธรรมะ มีความเพียร และทำให้ถูกหลักวิชา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More