พระมงกุฎมุทุธธีรญา - ภาค ๑ หน้าที่ 32 คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 1 หน้า 33
หน้าที่ 33 / 182

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงสภาพจิตใจที่ดีและการเกิดขึ้นของความรู้ต่างๆ ตามหลักพระพุทธศาสนา โดยเน้นถึงความสำคัญของเจตสิกและธรรมะที่สอดคล้องกัน เช่น อภิณดีและอภิปีติ เพื่อสร้างความเข้าใจในสภาพจิตที่เป็นประเสริฐที่สุด เนื้อหายังเปรียบเทียบกับสิ่งต่างๆ เพื่ออธิบายลักษณะของคนที่มีจิตใจดี และความสามารถในการดำรงอยู่ของธรรมะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง ที่สำคัญคือการที่ธรรมะเหล่านี้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาจิตใจให้เจริญยิ่งขึ้น โดยสามารถเข้าใจได้ว่าใจนั้นเกี่ยวข้องโดยตรงกับการกระทำและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของผู้ปฏิบัติธรรม

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์จิตใจ
-การเกิดขึ้นของธรรมะ
-อภิณดีและอภิปีติ
-การพัฒนาจิตใจ
-แนวทางพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคคล - ค้นรู้พระมงกุฎมุทุธธีรญา ยกพัทแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 32 ใมนุพุทผุมลว่าเป็นสภาพมึใจดีถึงก่อน (โหนตุ) ย่อมเป็น ๆ ห เพราะว่า ตา มมาร อ. ธรรม ท. เหล่านั้นมคน เมื่อใจ อนุปุชุนเต นิดเกิดขึ้นอยู่ ณ สกโกฎิ ย่อมไมอาจา อุปปัชชาติ เพื่ออนเกิดขึ้น ๆ ปน ฝายว่า มน อ. ใจ เจตสิก ครั่นเมื่อ เจตสิก ท. เอกาจเจส บางเหล่า อนุปุปชุนสุตบ แม้ไมเกิดขึ้นอยู่ อุปปัชฌติเออ ย่อมเกิดขึ้นนั่นเทียว ๆ ปน อื่น มน อ. ใจ เสญุก คิอว่าเป็นสภาพประเสริฐที่สุด เอตส มนะ นำธรรม ท. เหล่านั้น อภิฏิตวเสน ด้วยอำนาจ แห่งความเป็นอภิณดี (โหนตุ) ย่อมเป็น อิติ เพราะเหตุนัน (เต ธมมา) อ. ธรรม ท. เหล่านั้น มโนเสทก สิจาเป็นสภาพประเสริฐที่สุด (โหนตุ) ย่อมเป็น ๆ ห เหมือนอย่างว่า โจษฎุกภากาโย ชนา อ. ขน ท. มีโช ผู้เจริญที่สุดเป็นดิน อภิติใน ผู้เป็นอภิี เสฏกา ชื่อว่าเป็นผู้ ประเสริฐที่สุด โจฐานี ชนานิ แห่งชน ท. มีโชเป็นตัน (โหนตุ) ย่อมเป็น ยา ยนใด มน อ. ใจ (อภิปีติ) อนเป็นอภิدي (เสฎก) ชื่อว่าเป็นสภาพประเสริฐที่สุด เตศรี ทูมานิ แห่งธรรม ท. แม่เหล่านั้น (โหนตุ) ย่อมเป็น ตา ฉันนั้น อิติ เพราะเหตุนัน (เต ธมมา) อ. ธรรม ท. เหล่านั้น มโนเสทก ชนาอิเป็นสภาพ มีใจประเสริฐที่สุด (โหนตุ) ย่อมเป็น ๆ ปน อื่น ณ ภูทานิ อภัณฑะ ท. ตานิ เหล่านั้น ตานิ เหล่านี้ นิพผุนานิ อันสำเร็จแล้ว ทรอาาทที่ วุตตี ด้วยวัตถุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More