สาระและอุดมการณ์ในธรรม คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค 1 หน้า 132
หน้าที่ 132 / 182

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเกี่ยวกับสาระในพระธรรมคำสอน โดยนำเสนอความหมายของคำว่า 'สาระ' และการดำรงอยู่ภายใต้ความเห็นโดยชอบ นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงคุณลักษณะของบัณฑิตและการใช้ปัญญาในการพิจารณาธรรมที่เป็นสาระอย่างลึกซึ้ง โดยกล่าวถึงแนวทางในการเข้าถึงสาระของธรรม และการใช้ความคิดในการปฏิบัติตนให้ตรงตามธรรมชาติที่ถูกต้อง เพื่อการเข้าใจและดำเนินชีวิตอย่างมีความหมายมากยิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของสาระ
- อุดมการณ์ในธรรม
- บทบาทของบัณฑิต
- ความเห็นโดยชอบ
- การดำรงอยู่ภายใต้ธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - คำผู้พระธัมม์บุตรกล้า ยกศัพท์แปลภาค ๑ หน้าที่ 131 สาระคือสิ่งเป็นต้น นั่นนั่นเทียวว่า อ.ธรรมนี้ชื่อว่าสาระ ย่อมเป็นดังนี้ด้วย ฤตอนปากร อาสา อาโร อยู่ ธรรม (โฆติ) อิติ ขวาว รู้แล้ว ชิงธรรมอันไม่เป็นสาระ อันมีประกาศแห่งคำอันข้เจ้า กล่าวแล้วว่า อ.ธรรมนี้ ชื่อว่าสำรณะไม่เป็นสาระ ย่อมเป็น ดังนี้ ด้วย (อิติ) ดังนี้ (ปฐสุต) แห่งบ่บว่า สาระอิติ ดังนี้ ๆ (อุตโธ) อ. อรรถว่า เต ชนา อ. ชน ท.เหล่านั้น คือว่า ปณติทา ผู้เป็นบัณฑิต คือว่า เอว่าสมมาทสุโข ตเหตุว่า คิดา ผู้ถือเอาแล้ว ชิงความเห็นโดยชอบ อย่างนี้ ดำรงอยู่แล้ว สมมาสง- กบปุโมจรา เป็นผู้มีความเห็นโดยชอบเป็นอารมณ์ วสาน ด้วยอำนาจ เนกขมมสงฺกปฏิทิน สมุทปุน แห่งความดำริ ท. มีความดำริใน เนกขมันเป็นต้น หฤทวา เป็น อธิญาณณ์ ย่อมถึงทัน สาระ ซึ่งธรรม อันเป็นสาระ ตน นั้น ฤปุปปกา อันมีประกาศแห่งคำอันข้เจ้ากล่าวแล้ว อิติดังนี้ (ปฐฑูรสุต) แห่งหมวดสองแห่งบว่า เต สาระอิติ ดังนี้เป็นต้น ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More