ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและเฉลยบาลไวยกรรม (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 21
ปกติ คงรูปไวตามเดิม จึงเห็นว่า ปกติ ก็มีประโยชน์อยู่ในสนธิทั่ว 3
[๒๘๔๐]
[ นาม ]
ก. จงแสดงลักษณะแห่งนามทั้ง 3 ให้เห็นว่าต่างกัน ยกตัวอย่าง มาสักประโยคหนึ่งเป็นคำคมหนึ่งคำไทยก็ได้ แสดงให้เห็นว่าคำนั้น ๆ เป็นนามนั้น ๆ ?
ข. นามที่เป็นชื่อของคน สัตว์ ที่ สิ่งของ เป็นนามนาม
นามที่แสดงลักษณะของนามนาม สำหรับหมายให้ร่วมนนามนั้นดีหรือชั่วเป็นต้น เป็นคุณนาม สัพพนาม เป็นศัพท์สำหรับใช้แทนนามนามที่ออกชื่อมาแล้ว เพื่อจะไม่ให้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ อุจิ ขุติยสุดกุฏ ๆ ชนี มานิติ กุล เป็นชื่ออาคาสฉเป็นนามนาม อุจิ
แสดงลักษณะของสกุล เป็นนามนาม ฯ ใช้แทนสกุล เป็นสัพพนาม. [๒๔๕๔]
ข. นามศัพท์ เมื่อนำไปใช้ในข้อความทั้งปวง จะต้องทำอย่างไร ?
ค. ต้องประกอบด้วยลิงค์ จะนะ และ วิภัตติ. [๒๔๖๐]
ข. นามศัพท์ทั้ง 3 อย่างไหนแบ่งเป็นอย่างไร อย่างไรบ้าง ?
ค. นามนาม แบ่งเป็น 2 อย่าง คือ สาธารณนาม ออกาสธนานาม ๑ คำคา นาม ๑ แบ่งเป็น 3 อย่าง คือ ปกติ 1 วิสาสน 1 อวิสาสน์ 1 สัพพนาม แบ่งเป็น 2 อย่าง คือ บุรัสสัพพนาม 1 วิสาสนสัพพนาม ๑
[อ.น.]