ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและฉายาบัญชีไววยาการณ์ (สำหรับเปรียบเทียบครู) - หน้าที่ 70
ก. การตั้งวิเคราะห์สมาทัน ท่านแนะนำให้ทำอย่างไร ?
ข. ท่านแนะนำว่าให้แบ่งทาสสมาทันออกเป็นศัพท์ ๆ ถ้า ศัพท์ใดเป็นอิสระให้ประกอบศัพท์นั้นได้สอดคล้องกันวิธีดังตรงกับ ตัวบทเช่น กุลายกุมมิ แยกเป็น ๒ ศัพท์ คือ กุลาย ศัพท์ ๓ กุมมิ ศัพท์ ๑ ในนี้ กุลาย เป็นวิสาสนะของ กุมมิ, กุมมิ เป็นตัวประธาน เป็นนุ่งลงกิจ, กุลาย ก็ต้องประกอบเป็น นุ่ง-สกลกิจ มีรูปดังนี้ กุลาย+กุมมิ=กุลายกุมมิ [อ. น. ].
ข. บทวิเคราะห์ของสมาทัน ๆ มีชื่ออย่างไรบ้าง ?
ข. บทวิเคราะห์ของสมาทัน ๆ มีชื่อดังนี้ บทหน้า เรียก บูพพบท, บทหลัง เรียก อุตตรบท, บทสำเร็จเป็นรูปสมาทัน เรียก ว่าบทปลาย อุทธารณ์ เช่น มหุนะ+สยนะ=มหาสยนะ, มหุนะ เรียกว่า บูพพบท, สยนะ เรียกว่า อุตตรบท, มาตสยนะ เรียกว่า บทปลาย อีกอย่างหนึ่ง บทที่แยกออกจากศัพทสมาทันเป็น มหุนะ สยนะนั้น เรียกว่า อนุบท, บทที่ร่วมกันอยู่เป็นสมาทัน เรียกว่าบท ได้แก มหาสยนะ ถ้าสมาทันที่มีบทอื่นเป็นประธาน เรียกบทที่เป็น ประธานนั้นว่า อัญชุนท, [อ. น. ].
[ ที่คุมาส ]
ก. สมาทันเช่นไร เรียกว่า ทิคสมาทัน ? แบ่งเป็นอย่างไร ? อะไร บ้าง ?
ข. สมาทันที่มีสังขยายอยู่หน้า ตัวประธานอยู่หลัง เรียกว่า ทิคสมาทัน แบ่งเป็น ๒ คือ สมาหร ๑ อสมาหร ๑. [อ.น.]