ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมวลปัญหาและถ่ายทอดวิทยาการ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้าที่ 158
เป็นต้น, ส่วนคุณนามในนามศัพท์ เป็นคุณนามแท้ เป็นคุณนาม โดยกำเนิด ไม่มีปัจจัยประกอบ ไม่ได้หมายสาระ เช่น นิสิต เขียว สดุนร์ ดีเป็นต้น. [อ.น.]
[สารนะ]
ถ. อะไรเรียกว่า สารนะ? สารนะมีเท่าไร? อะไรบ้าง?
ค. คำที่สำเร็จจากรูปวิเคราะห์ ลงปัจฉิมนามกิตติคำใด ตัวหนึ่ง เรียกว่า สารนะ, สารนะมี ๓ คือ กัทตสาระ กับม- สารนะ ภาวสาระ กรรณสาระ สัมปทานสาระ อปทานสาระ อภิธานสาระ. [อ.น.]
ถ. สารนะทั้ง ๓ ต่างกันอย่างไร? และสารนะไหนท่านบัญญัติให้แปลว่ากระไร?
ค. ต่างกันดังนี้: กัทตสาระ เป็นศัพท์แสดงชื่อผู้ ทำประกอบกรียา เช่น กุณฺฏภาโร, ผู้ที่ชื่นมื่น เป็นต้น, สารนะนี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่า ผู้...ถางในอรรถแห่งตัศสลี ให้แปลว่า ผู้...โดยปกติ หรือ ผู้...เป็นปกติ.
ก็มีสาระ เป็นศัพท์แสดงผู้ถูกคุณอื่นทำ เช่น โปฐ เป็นที่รัก ทาน [วัดฺต] อันเภาพึงให้เป็นต้น, สารนะนี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่า เป็น...อย่าง ๆ, อันเราม...อย่าง ๆ.
ภาวสาระ เป็นศัพท์แสดงกิริยา คือความทำของบุคคลผู้ทำ เช่น งาน ความดี, ความขึ้น, คบมัน ความไปร, นิยฺชฌา การัง, เป็นต้น สารนะนี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่า ความ... อัน.....การ.....