ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ประมาณปัญหาและเฉลยบาบใว้รายการ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 25
ตัวอย่าง?
ก. โดยรูปศัพท์ ท่านจัดไว้ง่างกัน เพื่อให้กำหนนรู่ได้ว่า ลักษณะนี้เป็นอุปสงหรืออิสสงะ ศัพท์เหล่านี้พอเป็นเครื่องแสดง ลักษณะของนามให้รู้ว่าหรือชัว เช่น ปาโป, สนุกโร, อุณฺโธ เป็นต้น จัดเป็นพวกคุุณนาม ศัพท์เหล่าใดที่ส่องนามให้รู้เฉพาะขึ้นไม่เกี่ยวกับการแสดงลักษณะของนามนั้น เพ่งลักษณะนี้แน่นอนหรือไม่แน่น ของนามเป็นประมาณ เช่น โย โส ออยฺโธ, เป็นต้น จัดได้เป็น พวกอิสสงะ เรียกว่าสน)สนัสพนาม ดังนี้.[๒๔๕]
ก. คำว่า "คนไทย" เป็นนามประเภทไหม?
ข. เป็นนามได้ทั้ง ๒ ประเภท แล้วแต่ความหมาย ถ้าใช้เรียก หนุ่มไทยด้วยกัน ไม่ได้เกี่ยวกับคนชาติอื่น ก็หมายความถึงคนไทย ทุกคน เช่นนี้จัดเป็นสาธารณนาม ถ้าใช้เรียกชนหลายๆคนร่วมกันอยู่ คำว่า"คนไทย" ก็หมายความเฉพาะแต่คนชาติไทยไม่ได้ หมายถึงชนชาตอื่น เช่นนี้จัดเป็นอาสาธารณนาม. [อ. น.]
ก. คุุณนาม ศัพท์นาม เวลาแปลไม่ได้แสดงอายุบนิดและ วนะแหะ เหตุไฉจงต้องประกอบด้วย ลิงค์ วนะแ ฯวิภัตติ คุุณนามด้วย?
ข. เพราะคุุณนาม ศัพท์นาม ต้องอาศัยนามนามเป็นหลัก ถ้าไม่ประกอบ ลิงค์ วนะแ ฯวิภัตติ จจะไม่ได้ว่าเป็นคุุณนามและ ศัพท์นามแห่งนามนามตัวไหน ไม่สามารถจะประกอบคำพูดเข้เป็น พากย์ได้. [๒๔๖].