คำอธิบายเกี่ยวกับสังขยา ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) หน้า 44
หน้าที่ 44 / 197

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับคำว่า 'สังขยา' ซึ่งมีหน้าที่ในการกำหนดและบ่งบอกจำนวนของนามให้ชัดเจน โดยเปรียบเทียบกับวานะที่บอกเพียงว่ามีมากหรือน้อยเท่านั้น. ตัวอย่างเช่น 'เอ โก สตูโต' หมายถึงสัตว์หนึ่งตัว และ 'จตุโร ปุริสา' หมายถึงชายสี่คน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญในการใช้สังขยาเพื่อให้ข้อมูลมีความชัดเจนมากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสังขยา
-หน้าที่ของสังขยา
-ความสำคัญของการระบุจำนวน
-เปรียบเทียบกับวานะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ประมวลปัญหาและถ่ายทอดไวยากรณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) - หน้า 42 [ สังขยา ] ถ. คำที่เช่นไร เรียกว่า สังขยา? ฃ. คำที่เป็นเครื่องกำหนดนามนามให้รู้ว่า นามนามมีจำนวนมากน้อยเท่าไรแน่ เรียกว่า สังขยา.อ.น.]. ถ. วานะ กันออกจำนวนของนามนามให้รู้ว่า มากหรือน้อยแล้ว มีใหรือ? แต่เหตุใดจึงต้องมีสังขอยาก? ดูไม่จำเป็น. ฃ. จริง. วานะบอกจำนวนของนามนาม แต่บอกให้ทราบเพียงว่ามากหรือน้อย เช่น ในหมายถึงคน ๆ หนึ่ง ชนา หมายถึงคนหลายคน แต่ไม่ทราบแน่ว่า หลายคน่นั้น เป็นจำนวนเท่าไร อาจเป็น ๒, ๓, ๔, หรือมากว่านี้ก็ได้ ทั้งคำแปล พุทวนะ ก็มีเพียงว่า "ทั้งหลาย" เท่านั้น. ส่วนที่เป็นเอก:wานะ พอจะสังเกตได้บ้างว่า หมายถึงของสิ่งเดียว แต่ไม่แน่นัก เพราะบางคำที่เป็นเอกวานะ แต่หมายถึงของหลายอย่างก็มี เช่น ปวดจิวริ์ แปลว่า บาตรและจิวริ์ นี้หมายถึงของ 2 อย่าง. หูเดียวสตอรปุตติ แปลว่า ช้าง ม้า รถ และคนเดิน นี้หมายถึงของ 4 อย่าง เอกวานะ ยังบอกจำนวนของนามนามไม่แน่นอนดั่งเช่นนี้ พุทวนะ มีคำแปลว่า"ทั้งหลาย" นั้น จะแสดงให้รู้จำนวนของนามนามน้อยเท่าไรแน่ได้อย่างไรเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงจำเป็นต้องมีสังขอยาก เพราะสังขยา มีหน้าที่ระบุจำนวนของนามนามไว้อย่างชัดเจนแน่นอน เช่น เอ โก สตูโต สัตว์ตัวหนึ่ง จตุโร ปุริสา ชาย 4 คน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More